วันอาทิตย์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
กระเจี๊ยบ
กระเจี๊ยบ
ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus sabdariffa L.
ชื่อสามัญ: กระเจี๊ยบแดง (อังกฤษ: Roselle)
ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ: ภาคเหนือเรียก ผักเก็งเค็ง ส้มเก็งเค็ง เงี้ยว แม่ฮ่องสอนเรียก ส้มปู จังหวัดตากเรียก ส้มตะแลงเครง ภาคกลางเรียก กระเจี๊ยบ กระเจี๊ยบเปรี้ยว ทั่วไปเรียก กระเจี๊ยบแดง
ลักษณะ: กระเจี๊ยบแดง เป็นพืชสมุนไพรที่เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 3–6 ศอก ลำต้นและกิ่งก้านมีสีม่วงแดง ใบมีหลายแบบด้วยกัน ขอบใบเรียบ บางทีก็มีรอยหยักเว้า 3 หยัก สีของดอกเป็นสีชมพู ตรงกลางดอกมีสีเข้มมากกว่าขอบนอกของกลีบ กลีบดอกร่วงโรยไป กลีบรองดอกและกลีบเลี้ยงก็จะเจริญเติบโตขึ้นอีกเกิดเป็นสีม่วงแดงเข้มหุ้มเมล็ดเอาไว้ภายใน
การขยายพันธุ์: ใช้เมล็ดปลูก ควรปลูกในหน้าฝน พรวนดินก่อนปลูก ขุดหลุมปลูกหลุมละ 2-3 เมล็ด ระยะห่างของหลุมประมาณ ½-1 เมตร พอต้นอ่อนงอกออกมาแล้ว ให้ถอนต้นที่อ่อนแอกว่าออกไปเอาต้นที่แข็งแรงไว้ รดน้ำ ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดวัชพืชออกให้หมด
วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
เรือแคนู
เรือแคนูมีมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์หลายพันปี โดยชาวอินเดียนแดง ซึ่งเรือแคนูถูกสร้างขึ้นเพื่อการเดินทาง การค้าขาย การสงคราม และเพื่อการล่าสัตว์ รูปลักษณ์มีความต่างกันตามสภาพแวดล้อมถิ่นที่อยู่อาศัย เช่นเรือแคนูของชาวเมารีในประเทศนิวซีแลนด์มีความยาว 35 เมตร ใช้ฝีพายถึง 80 คน ชาวอินเดียนแดงในทวีปอเมริกาเหนือสร้างเรือแคนูจากหนังกวาง และเปลือกไม้เอิร์ซ (Birch bark) ส่วนชาวอียิปต์ทำมาจากเปลือกไม้พาพัยรัส (Papyrus reeds) ส่วนชาวโพลีนีเซียนใช้ท่อนซุงทำเรือแคนู ชาวเอสกิโมในประเทศกรีนแลนด์ได้สร้างเรือขึ้นมาชนิดหนึ่งโดยเรียกว่า คยัค มีลักษณะคล้ายเรือแคนูแต่มีฝาปิดเรือคยัคนี้ถูกค้นพบโดยนักสำรวจชาวอังกฤษที่ชื่อ Burrough ในปี ค.ศ.1556
ในเวลาต่อมาเรือแคนูเริ่มเป็นที่นิยมกันมากสำหรับนักท่องเที่ยวที่ชอบการผจญภัยกลางน้ำอันเชี่ยวกราดจึงได้มีการจัดตั้งเป็นสหพันธ์เรือแคนูนานาชาติ (International Canoe Federtion –I.C.F) ขึ้นในปี ค.ศ.1700 ได้มีการผลักดันกีฬาเรือแคนูให้เป็นกีฬาสาธิตในโอลิมปิกเกมส์เมื่อปี ค.ศ.1928 และอีก 12 ปีต่อมากีฬาเรือแคนูก็ได้บรรจุลงในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกอย่างถาวร ในการกีฬาจะใช้คำว่าเรือแคนูซึ่งหมายถึงทั้งเรือแคนูและคยัครวมกัน เอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 13 ที่ประเทศไทยได้เป็นเจ้าในการจัดการแข่งขัน กีฬาเรือแคนูก็เป็น 1 ประเภทของกีฬาที่จัดให้มีการแข่งขันนั้นด้วย
กฎการแข่งขัน (RACING REGULATIONS)
การให้ออกจากการแข่งขัน (Disqualifications)
- ผู้แข่งขันใดที่พยายามเอาชนะในการแข่งขันทุกวิธีอย่างไร้เกียรติ หรือฝ่าฝืนกฎการแข่งขัน หรือไม่คำนึงถึงธรรมชาติศักดิ์ศรีของกฎการแข่งขัน จะถูกให้ออกจากการแข่งขันในเที่ยวการแข่งขันที่เกี่ยวข้องนั้น
- ผู้แข่งขันเรือคยัคหรือเรือแคนูที่ได้แข่งขันจบเที่ยวไปแล้ว ซึ่งได้ปรากฎภายหลับจากการตรวจสอบว่าไม่เป็นไปตามการแบ่งประเภทของ ICF จะถูกให้ออกจากการแข่งขันในเที่ยวการแข่งขันนั้น
- ระหว่างการแข่งขัน ห้ามรับการช่วยเหลือจากภายนอก หรือมีเรือลำอื่นแล่นติดตามข้างสนามแข่งขันไปด้วย ถึงแม้จะอยู่ข้างนอกลู่แข่งขัน หรือขว้างสิ่งของเข้ามาในสนามแข่งขัน การกระทำทั้งหมดเช่นนั้น จะเป็นสาเหตุให้ผู้แข่งขันที่เกี่ยวข้องถูกให้ออกจากการแข่งขันได้การให้ออกจากการแข่งขันทั้งหมดโดยคณะกรรมการตัดสิน จะต้องกระทำเป็นหนังสือยืนยันทันทีพร้อมกับเหตุผล หัวหน้าทีมจะได้รับทราบจากสำเนาตามกำหนดเวลาซึ่งจะเป็นเวลาที่จะเริ่มยื่นการประท้วง
วิธีการขับเคลื่อนเรือ (Means of Propulsion)
- เรือคยัคจะขับเคลื่อนได้ด้วยการใช้พายชนิดสองใบ (Double-bladed paddles) อย่างเดียว
- เรือแคนูแบบแคนาเดียนจะขับเคลื่อนได้ด้วยการใช้พายชนิดใบเดียว (Single-bladed paddles) อย่างเดียว
- ห้ามยึดตรึงพายติดกับตัวเรือด้วยวิธีใด ๆ
- ถ้าเกิดหัก ผู้แข่งขันจะรับพายใหม่จากผู้สนับสนุนไม่ได้
ระบบการจัดแข่งขันรอบคัดเลือกและรอบชิงชนะเลิศ (Heats and Finals)
- จะต้องมีจำนวนเรือคยัคหรือเรือแคนูอย่างน้อยสามลำ จึงจะจัดการแข่งขันได้ ถ้ามีจำนวนเรือเข้าแข่งขันตั้งแต่ระยะ 1,000 ม. ลงมามาเกินไป จะต้องจัดให้มีรอบคัดเลือก (Heats) จำนวนเรือคยัคหรือเรือแคนูในแต่ละรอบคัดเลือกและรอบชิงชนะเลิศจะต้องไม่เกิน เก้า(9) ลำ
- การจัดแบ่ง (Division) เรือในแต่ละรอบคัดเลือก จะต้องกระทำด้วยการจับฉลาก
- เรือคยัคหรือเรือแคนูที่มีจำนวน แปด หรือเก้า ลำ ให้จัดแข่งขันเป็นรอบชิงชนะเลิศได้เลย ถ้าหากมีจำนวนเรือมากกว่านี้ ให้จัดแบ่งเรือเข้าแข่งขัน ดังนี้
3 ถึง 9 ลำ จัดเป็นรอบชิงชนะเลิศ
10 ถึง 14 ลำ จัดแข่งขันสองรอบแรก (Heats) ที่ 1-3 ของแต่ละรอบแรกไปรอแข่งขันรอบชิงชนะเลิศที่เหลือไปแข่งขันรอบรองชนะเลิศ (Semi-final) หนึ่งรอบ ที่ 1-3 ของรอบรองชนะเลิศไปแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ
15 ถึง 27 ลำ จัดแข่งขันสามรอบแรกที่ 1-2 ของแต่ละรอบแรก ไปรอแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ที่ 3-5 ของแต่ละรอบแรกไปแข่งขันรอบรองชนะเลิศหนึ่งรอบ ที่เหลือคัดออก ที่ 1-3 ของรอบรอบชนะเลิศไปแข่งขันรอบชนะเลิศ
มากกว่า 27 ลำ จัดแข่งขันจำนวนรอบแรกเท่าที่ต้องการตามจำนวนเรือเข้าแข่งขัน และจัดรอบรองชนะเลิศสามรอบที่ 1-3 ของแต่ละรอบรองชนะเลิศ ไปแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ
- การจัดแบ่งจำนวนเรือในแต่ละรอบแรก จะต้องจัดให้มีจำนวนเรือไปแข่งขันในรอบชิงชนะเลิศ (หรือในรอบรองชนะเลิศ) อย่างน้อยสามลำจากแต่ละรอบแรก
- การจับฉลากแบ่งเรือ ความแตกต่างกันในแต่ละรอบแรก จะต้องไม่เกินหนึ่งลำ ถ้าหากจำนวนเรือมีความแตกต่างกันในแต่ละรอบแรก จะต้องจัดจำนวนเรือในรอบแรกลำดับต้น ๆ ให้มีจำนวนมากกว่า
- ลูกเรือลำใดไม่ได้ร่วมแข่งขันในรอบคัดเลือกที่ได้กล่าวมาแล้ว จะไม่ได้รับอนุญาตให้แข่งขันในรอบชิงชนะเลิศ
องค์ประกอบของลูกเรือที่ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขันในรอบรองชนะเลิศ หรือรอบชิงชนะเลิศ จะเปลี่ยนตัวไม่ได้ การแข่งขันในรอบคัดเลือกและรอบชิงชนะเลิศ จะต้องใช้สนามแข่งขันเดียวกัน การเข้าแข่งขันในรอบชิงชนะเลิศ จะไม่ขึ้นอยู่กับเวลาที่ทำได้ในรอบคัดเลือก
- สำหรับการแข่งขันระยะเกินกว่า 1,000 ม. จะไม่จัดให้มีรอบคัดเลือก และทำการปล่อยเรือที่เข้าแข่งขันทั้งหมดพร้อมกัน
- ถ้าความกว้างของสนามแข่งขันไม่อำนวยให้ทำการปล่อยเรือพร้อมกัน ให้ทำการปล่อยเรืออย่างปรกติแบบเว้นช่วงเวลา
การปล่อยเรือ (Start)
- จะต้องมีการจับฉลากในการกำหนดตำแหน่งของเรือที่เส้นปล่อยเรือในรอบคัดเลือก จับได้หมายเลยหนึ่ง จะถูกวางไว้ทางซ้าย หมายเลขสองจะอยู่ถัดมาและต่อ ๆ ไป
- ในการแข่งขันที่มีรอบแรกหลายรอบ จะต้องมีการจับฉลากแยกแต่ละรอบแรก
- ผู้แข่งขันจะต้องอยู่ในพื้นที่ปล่อยเรือในเวลาที่เพียงพอต่อการเตรียมตัวให้พร้อมในการปล่อยเรือ การปล่อยเรือจะต้องเป็นไปตามเวลาที่กำหนด โดยจะไม่มีการรอเรือที่ยังไม่เข้าเส้นปล่อยเรือ ตำแหน่งของเรือที่เส้นปล่อยเรือ จะต้องอยู่ในลักษณะที่หัวเรือแข่งขันสัมผัสเส้นปล่อยเรือ
- เรือทุกลำจะต้องอยู่นิ่งไม่เคลื่อนที่
- กรรมการปล่อยเรือ จะประกาศให้ผู้แข่งขันที่เส้นปล่อยเรือได้เตรียมตัวว่า “เตรียมพร้อม หรือ ATTENTION PLEASE” และเมื่อเห็นทุกอย่างเรียบร้อย จะให้สัญญาณปล่อยเรือด้วยการยิงปืน
ในกรณีแข่งขันในระยะไกล กรรมการปล่อยเรือจะประกาศ “ONE TO GO BEFORE START” แล้วให้สัญญาณด้วยการยิงปืน
ใช้คำพูดว่า “ไป หรือ GO” แทนสัญญาณยิงปืนก็ได้
ถ้ากรรมการปล่อยเรือเห็นว่าเรือที่ออกตามสัญญาณปล่อยเรือ ไม่ได้อยู่ในแนวเส้นปล่อยเรืออย่างถูกต้อง จะสั่งให้ “หยุด หรือ STOP” แล้วมอบให้กรรมการกำกับเส้นปล่อยเรือจัดเรือเข้าเส้นปล่อยเรือใหม่
- ถ้าผู้แข่งขันลงพายออกเรือไปข้างหน้าหลังคำสั่ง “ATTENTION PLEASE” และก่อนเสียสัญญาณปืน ถือว่าผู้แข่งขันนั้นออกเรือผิดกติกา (False Start)
กรรมการปล่อยเรือจะต้องเตือนผู้แข่งขันที่กระทำผิดทันที
ถ้าการกระทำออกเรือผิดกติกาถึงสองครั้งโดยผู้แข่งขันคนเดียวกัน กรรมการปล่อยเรือจะต้องให้ผู้แข่งขันนั้นออกจากเที่ยวแข่งขันนั้น วิธีการเตือนครั้งหนึ่งแล้วตามด้วยการให้ออกจากการแข่งขันโดยกรรมการปล่อยเรือ จะใช้กับเรือ/ผู้แข่งขันที่ออกเรือผิดกติกาเท่านั้น ในกรณีที่มีการติดตังเครื่องปล่อยเรือแบบอัตโนมัติและทำงานได้ถูกต้องการออกเรือผิดกติกาจะไม่เกิดขึ้น
การยับยั้ง (Interruption)
- กรรมการกำกับสนามแข่งขัน มีสิทธิยับยั้งหรือหยุดเรือที่ถูกปล่อยเรือออกมาอย่างถูกต้องในการแข่งขันระยะสั้น ถ้ามีอุปสรรคที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น การยับยั้งดังกล่าวจะมีขึ้นได้ด้วยการแสดงสัญญาณธงสีแดงและสัญญาณเสียงของกรรมการกำกับสนามแข่งขัน ผู้แข่งขัน จะต้องหยุดพายและรอฟังคำสั่งต่อไป
- ถ้ามีการประกาศเที่ยวแข่งขันเป็นโมฆะ จะต้องไม่มีการเปลี่ยนตัวลูกเรือใจการปล่อยเรือครั้งใหม่
- ในเหตุการณ์ที่มีเรือล่ม ผู้แข่งขันหรือลูกเรือ จะถูกให้ออกจากการแข่งขัน ถ้าไม่สามารถกลับขึ้นบนเรือได้โดยไม่มีการช่วยเหลือจากภายนอก
การพายนำและพายเกาะติดตาม (Taking pace and Hanging)
- การพายนำหรือการได้รับการช่วยเหลือจากเรือที่ไม่ได้ร่วมแข่งขัน หรือด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งจะกระทำไม่ได้
- ระหว่างการแข่งขันดำเนินการอยู่ ห้ามเด็ดขาดสำหรับลูกเรือที่ไม่ได้ร่วมการแข่งขันเข้าไปดำเนินการทั้งหมดหรือส่วนใดส่วนหนึ่งในสนามแข่งขัน รวมทั้งทางด้านนอกเครื่องหมายทุ่นลอย
- การแข่งขันในระยะตั้งแต่ 1,000 ม.ลงมา ผู้แข่งขันจะต้องรักษาตำแหน่งอยู่ในลู่ของตนตั้งแต่เส้นปล่อยเรือจนถึงเส้นชัยของสนามแข่งขัน ห้ามพายเกาะติดตามและพายเข้าใกล้ผู้แข่งขันอื่นน้อยกว่าห้าเมตรทุกทิศทาง
- การแข่งขันในระยะตั้งแต่ 1,000 ม.ขึ้นไป ผู้แข่งขันอาจพายออกนอกลู่ของตนได้ แต่ต้องไม่ไปกีดขวางผู้แข่งขันอื่น
- การแข่งขันในระยะไกล จะใช้สัญญาณเตือน เช่น เสียระฆัง ให้ผู้แข่งขันได้ทราบว่ากำลังผ่านระยะ 1,000 ม.จากเส้นชัย
การเลี้ยวหัน (Turn)
- เมื่อการแข่งขันหระทำในสนามแข่งขันที่มีจุดเลี้ยว การเลี้ยวหันของเรือจะต้องกระทำโดยเอาจุดเลี้ยวไว้ทางกราบซ้ายของเรือ (เลี้ยวในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา)
- เมื่อพายเรือรอบจุดเลี้ยว ผู้แข่งขันที่อยู่ทางด้านนอกจะต้องให้ทางแก่ผู้แข่งขันที่อยู่ทางด้านใน ถ้าหัวเรือของผู้แข่งขันนั้นอย่างน้อยอยู่เสมอในแนวเดียวกับของดาดฟ้าเปิด (ช่องนั่งฝีพาย) ด้านหัวเรือของผู้แข่งขันด้านนอก สำหรับเรือ K2 และ K4 หมายถึงช่องนั่งฝีพายหัวเรือ สำหรับเรือ C1 หมายถึงตัวผู้แข่งขัน และสำหรับเรือ C2 หมายถึงลูกเรือคนหัวเรือสุด
- ผู้แข่งขันจะไม่ถูกให้ออกจากการแข่งขันในการพายเรือไปถูกทุ่นจุดเลี้ยว นอกจากกรมการที่จุดเลี้ยวจะมีความเห็นว่า การกระทำเช่นนั้นจะทำให้เกิดความได้เปรียบในการเลี้ยวหันเรือจะกระทำให้ใกล้ที่สุดเท่าที่จะทำได้กับทุ่นจุดเลี้ยว
การแซง (Overtaking)
- เรือที่พายแซงเรือลำอื่นในการแข่งขัน เป็นหน้าที่ของเรือที่แซงจะต้องคอยหลบหลีกเรือที่ถูกแซงตลอดเวลาในขณะที่แซง
- ห้ามเรือที่ถูกแซงจะเปลี่ยนทิศทางขวางต่อเรือที่แซง
เรือแคนูมีมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์หลายพันปี โดยชาวอินเดียนแดง ซึ่งเรือแคนูถูกสร้างขึ้นเพื่อการเดินทาง การค้าขาย การสงคราม และเพื่อการล่าสัตว์ รูปลักษณ์มีความต่างกันตามสภาพแวดล้อมถิ่นที่อยู่อาศัย เช่นเรือแคนูของชาวเมารีในประเทศนิวซีแลนด์มีความยาว 35 เมตร ใช้ฝีพายถึง 80 คน ชาวอินเดียนแดงในทวีปอเมริกาเหนือสร้างเรือแคนูจากหนังกวาง และเปลือกไม้เอิร์ซ (Birch bark) ส่วนชาวอียิปต์ทำมาจากเปลือกไม้พาพัยรัส (Papyrus reeds) ส่วนชาวโพลีนีเซียนใช้ท่อนซุงทำเรือแคนู ชาวเอสกิโมในประเทศกรีนแลนด์ได้สร้างเรือขึ้นมาชนิดหนึ่งโดยเรียกว่า คยัค มีลักษณะคล้ายเรือแคนูแต่มีฝาปิดเรือคยัคนี้ถูกค้นพบโดยนักสำรวจชาวอังกฤษที่ชื่อ Burrough ในปี ค.ศ.1556
ในเวลาต่อมาเรือแคนูเริ่มเป็นที่นิยมกันมากสำหรับนักท่องเที่ยวที่ชอบการผจญภัยกลางน้ำอันเชี่ยวกราดจึงได้มีการจัดตั้งเป็นสหพันธ์เรือแคนูนานาชาติ (International Canoe Federtion –I.C.F) ขึ้นในปี ค.ศ.1700 ได้มีการผลักดันกีฬาเรือแคนูให้เป็นกีฬาสาธิตในโอลิมปิกเกมส์เมื่อปี ค.ศ.1928 และอีก 12 ปีต่อมากีฬาเรือแคนูก็ได้บรรจุลงในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกอย่างถาวร ในการกีฬาจะใช้คำว่าเรือแคนูซึ่งหมายถึงทั้งเรือแคนูและคยัครวมกัน เอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 13 ที่ประเทศไทยได้เป็นเจ้าในการจัดการแข่งขัน กีฬาเรือแคนูก็เป็น 1 ประเภทของกีฬาที่จัดให้มีการแข่งขันนั้นด้วย
กฎการแข่งขัน (RACING REGULATIONS)
การให้ออกจากการแข่งขัน (Disqualifications)
- ผู้แข่งขันใดที่พยายามเอาชนะในการแข่งขันทุกวิธีอย่างไร้เกียรติ หรือฝ่าฝืนกฎการแข่งขัน หรือไม่คำนึงถึงธรรมชาติศักดิ์ศรีของกฎการแข่งขัน จะถูกให้ออกจากการแข่งขันในเที่ยวการแข่งขันที่เกี่ยวข้องนั้น
- ผู้แข่งขันเรือคยัคหรือเรือแคนูที่ได้แข่งขันจบเที่ยวไปแล้ว ซึ่งได้ปรากฎภายหลับจากการตรวจสอบว่าไม่เป็นไปตามการแบ่งประเภทของ ICF จะถูกให้ออกจากการแข่งขันในเที่ยวการแข่งขันนั้น
- ระหว่างการแข่งขัน ห้ามรับการช่วยเหลือจากภายนอก หรือมีเรือลำอื่นแล่นติดตามข้างสนามแข่งขันไปด้วย ถึงแม้จะอยู่ข้างนอกลู่แข่งขัน หรือขว้างสิ่งของเข้ามาในสนามแข่งขัน การกระทำทั้งหมดเช่นนั้น จะเป็นสาเหตุให้ผู้แข่งขันที่เกี่ยวข้องถูกให้ออกจากการแข่งขันได้
- การให้ออกจากการแข่งขันทั้งหมดโดยคณะกรรมการตัดสิน จะต้องกระทำเป็นหนังสือยืนยันทันทีพร้อมกับเหตุผล หัวหน้าทีมจะได้รับทราบจากสำเนาตามกำหนดเวลาซึ่งจะเป็นเวลาที่จะเริ่มยื่นการประท้วง
วิธีการขับเคลื่อนเรือ (Means of Propulsion)
- เรือคยัคจะขับเคลื่อนได้ด้วยการใช้พายชนิดสองใบ (Double-bladed paddles) อย่างเดียว
- เรือแคนูแบบแคนาเดียนจะขับเคลื่อนได้ด้วยการใช้พายชนิดใบเดียว (Single-bladed paddles) อย่างเดียว
- ห้ามยึดตรึงพายติดกับตัวเรือด้วยวิธีใด ๆ
- ถ้าเกิดหัก ผู้แข่งขันจะรับพายใหม่จากผู้สนับสนุนไม่ได้
ระบบการจัดแข่งขันรอบคัดเลือกและรอบชิงชนะเลิศ (Heats and Finals)
- จะต้องมีจำนวนเรือคยัคหรือเรือแคนูอย่างน้อยสามลำ จึงจะจัดการแข่งขันได้ ถ้ามีจำนวนเรือเข้าแข่งขันตั้งแต่ระยะ 1,000 ม. ลงมามาเกินไป จะต้องจัดให้มีรอบคัดเลือก (Heats) จำนวนเรือคยัคหรือเรือแคนูในแต่ละรอบคัดเลือกและรอบชิงชนะเลิศจะต้องไม่เกิน เก้า(9) ลำ
- การจัดแบ่ง (Division) เรือในแต่ละรอบคัดเลือก จะต้องกระทำด้วยการจับฉลาก
- เรือคยัคหรือเรือแคนูที่มีจำนวน แปด หรือเก้า ลำ ให้จัดแข่งขันเป็นรอบชิงชนะเลิศได้เลย ถ้าหากมีจำนวนเรือมากกว่านี้ ให้จัดแบ่งเรือเข้าแข่งขัน ดังนี้
3 ถึง 9 ลำ จัดเป็นรอบชิงชนะเลิศ
10 ถึง 14 ลำ จัดแข่งขันสองรอบแรก (Heats) ที่ 1-3 ของแต่ละรอบแรกไปรอแข่งขันรอบชิงชนะเลิศที่เหลือไปแข่งขันรอบรองชนะเลิศ (Semi-final) หนึ่งรอบ ที่ 1-3 ของรอบรองชนะเลิศไปแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ
15 ถึง 27 ลำ จัดแข่งขันสามรอบแรกที่ 1-2 ของแต่ละรอบแรก ไปรอแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ที่ 3-5 ของแต่ละรอบแรกไปแข่งขันรอบรองชนะเลิศหนึ่งรอบ ที่เหลือคัดออก ที่ 1-3 ของรอบรอบชนะเลิศไปแข่งขันรอบชนะเลิศ
มากกว่า 27 ลำ จัดแข่งขันจำนวนรอบแรกเท่าที่ต้องการตามจำนวนเรือเข้าแข่งขัน และจัดรอบรองชนะเลิศสามรอบที่ 1-3 ของแต่ละรอบรองชนะเลิศ ไปแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ
- การจัดแบ่งจำนวนเรือในแต่ละรอบแรก จะต้องจัดให้มีจำนวนเรือไปแข่งขันในรอบชิงชนะเลิศ (หรือในรอบรองชนะเลิศ) อย่างน้อยสามลำจากแต่ละรอบแรก
- การจับฉลากแบ่งเรือ ความแตกต่างกันในแต่ละรอบแรก จะต้องไม่เกินหนึ่งลำ ถ้าหากจำนวนเรือมีความแตกต่างกันในแต่ละรอบแรก จะต้องจัดจำนวนเรือในรอบแรกลำดับต้น ๆ ให้มีจำนวนมากกว่า
- ลูกเรือลำใดไม่ได้ร่วมแข่งขันในรอบคัดเลือกที่ได้กล่าวมาแล้ว จะไม่ได้รับอนุญาตให้แข่งขันในรอบชิงชนะเลิศ
- องค์ประกอบของลูกเรือที่ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขันในรอบรองชนะเลิศ หรือรอบชิงชนะเลิศ จะเปลี่ยนตัวไม่ได้ การแข่งขันในรอบคัดเลือกและรอบชิงชนะเลิศ จะต้องใช้สนามแข่งขันเดียวกัน การเข้าแข่งขันในรอบชิงชนะเลิศ จะไม่ขึ้นอยู่กับเวลาที่ทำได้ในรอบคัดเลือก
- สำหรับการแข่งขันระยะเกินกว่า 1,000 ม. จะไม่จัดให้มีรอบคัดเลือก และทำการปล่อยเรือที่เข้าแข่งขันทั้งหมดพร้อมกัน
- ถ้าความกว้างของสนามแข่งขันไม่อำนวยให้ทำการปล่อยเรือพร้อมกัน ให้ทำการปล่อยเรืออย่างปรกติแบบเว้นช่วงเวลา
การปล่อยเรือ (Start)
- จะต้องมีการจับฉลากในการกำหนดตำแหน่งของเรือที่เส้นปล่อยเรือในรอบคัดเลือก จับได้หมายเลยหนึ่ง จะถูกวางไว้ทางซ้าย หมายเลขสองจะอยู่ถัดมาและต่อ ๆ ไป
- ในการแข่งขันที่มีรอบแรกหลายรอบ จะต้องมีการจับฉลากแยกแต่ละรอบแรก
- ผู้แข่งขันจะต้องอยู่ในพื้นที่ปล่อยเรือในเวลาที่เพียงพอต่อการเตรียมตัวให้พร้อมในการปล่อยเรือ การปล่อยเรือจะต้องเป็นไปตามเวลาที่กำหนด โดยจะไม่มีการรอเรือที่ยังไม่เข้าเส้นปล่อยเรือ ตำแหน่งของเรือที่เส้นปล่อยเรือ จะต้องอยู่ในลักษณะที่หัวเรือแข่งขันสัมผัสเส้นปล่อยเรือ
- เรือทุกลำจะต้องอยู่นิ่งไม่เคลื่อนที่
- กรรมการปล่อยเรือ จะประกาศให้ผู้แข่งขันที่เส้นปล่อยเรือได้เตรียมตัวว่า “เตรียมพร้อม หรือ ATTENTION PLEASE” และเมื่อเห็นทุกอย่างเรียบร้อย จะให้สัญญาณปล่อยเรือด้วยการยิงปืน
ในกรณีแข่งขันในระยะไกล กรรมการปล่อยเรือจะประกาศ “ONE TO GO BEFORE START” แล้วให้สัญญาณด้วยการยิงปืน
ใช้คำพูดว่า “ไป หรือ GO” แทนสัญญาณยิงปืนก็ได้
ถ้ากรรมการปล่อยเรือเห็นว่าเรือที่ออกตามสัญญาณปล่อยเรือ ไม่ได้อยู่ในแนวเส้นปล่อยเรืออย่างถูกต้อง จะสั่งให้ “หยุด หรือ STOP” แล้วมอบให้กรรมการกำกับเส้นปล่อยเรือจัดเรือเข้าเส้นปล่อยเรือใหม่
- ถ้าผู้แข่งขันลงพายออกเรือไปข้างหน้าหลังคำสั่ง “ATTENTION PLEASE” และก่อนเสียสัญญาณปืน ถือว่าผู้แข่งขันนั้นออกเรือผิดกติกา (False Start)
กรรมการปล่อยเรือจะต้องเตือนผู้แข่งขันที่กระทำผิดทันที
ถ้าการกระทำออกเรือผิดกติกาถึงสองครั้งโดยผู้แข่งขันคนเดียวกัน กรรมการปล่อยเรือจะต้องให้ผู้แข่งขันนั้นออกจากเที่ยวแข่งขันนั้น วิธีการเตือนครั้งหนึ่งแล้วตามด้วยการให้ออกจากการแข่งขันโดยกรรมการปล่อยเรือ จะใช้กับเรือ/ผู้แข่งขันที่ออกเรือผิดกติกาเท่านั้น ในกรณีที่มีการติดตังเครื่องปล่อยเรือแบบอัตโนมัติและทำงานได้ถูกต้องการออกเรือผิดกติกาจะไม่เกิดขึ้น
การยับยั้ง (Interruption)
- กรรมการกำกับสนามแข่งขัน มีสิทธิยับยั้งหรือหยุดเรือที่ถูกปล่อยเรือออกมาอย่างถูกต้องในการแข่งขันระยะสั้น ถ้ามีอุปสรรคที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น การยับยั้งดังกล่าวจะมีขึ้นได้ด้วยการแสดงสัญญาณธงสีแดงและสัญญาณเสียงของกรรมการกำกับสนามแข่งขัน ผู้แข่งขัน จะต้องหยุดพายและรอฟังคำสั่งต่อไป
- ถ้ามีการประกาศเที่ยวแข่งขันเป็นโมฆะ จะต้องไม่มีการเปลี่ยนตัวลูกเรือใจการปล่อยเรือครั้งใหม่
- ในเหตุการณ์ที่มีเรือล่ม ผู้แข่งขันหรือลูกเรือ จะถูกให้ออกจากการแข่งขัน ถ้าไม่สามารถกลับขึ้นบนเรือได้โดยไม่มีการช่วยเหลือจากภายนอก
การพายนำและพายเกาะติดตาม (Taking pace and Hanging)
- การพายนำหรือการได้รับการช่วยเหลือจากเรือที่ไม่ได้ร่วมแข่งขัน หรือด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งจะกระทำไม่ได้
- ระหว่างการแข่งขันดำเนินการอยู่ ห้ามเด็ดขาดสำหรับลูกเรือที่ไม่ได้ร่วมการแข่งขันเข้าไปดำเนินการทั้งหมดหรือส่วนใดส่วนหนึ่งในสนามแข่งขัน รวมทั้งทางด้านนอกเครื่องหมายทุ่นลอย
- การแข่งขันในระยะตั้งแต่ 1,000 ม.ลงมา ผู้แข่งขันจะต้องรักษาตำแหน่งอยู่ในลู่ของตนตั้งแต่เส้นปล่อยเรือจนถึงเส้นชัยของสนามแข่งขัน ห้ามพายเกาะติดตามและพายเข้าใกล้ผู้แข่งขันอื่นน้อยกว่าห้าเมตรทุกทิศทาง
- การแข่งขันในระยะตั้งแต่ 1,000 ม.ขึ้นไป ผู้แข่งขันอาจพายออกนอกลู่ของตนได้ แต่ต้องไม่ไปกีดขวางผู้แข่งขันอื่น
- การแข่งขันในระยะไกล จะใช้สัญญาณเตือน เช่น เสียระฆัง ให้ผู้แข่งขันได้ทราบว่ากำลังผ่านระยะ 1,000 ม.จากเส้นชัย
การเลี้ยวหัน (Turn)
- เมื่อการแข่งขันหระทำในสนามแข่งขันที่มีจุดเลี้ยว การเลี้ยวหันของเรือจะต้องกระทำโดยเอาจุดเลี้ยวไว้ทางกราบซ้ายของเรือ (เลี้ยวในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา)
- เมื่อพายเรือรอบจุดเลี้ยว ผู้แข่งขันที่อยู่ทางด้านนอกจะต้องให้ทางแก่ผู้แข่งขันที่อยู่ทางด้านใน ถ้าหัวเรือของผู้แข่งขันนั้นอย่างน้อยอยู่เสมอในแนวเดียวกับของดาดฟ้าเปิด (ช่องนั่งฝีพาย) ด้านหัวเรือของผู้แข่งขันด้านนอก สำหรับเรือ K2 และ K4 หมายถึงช่องนั่งฝีพายหัวเรือ สำหรับเรือ C1 หมายถึงตัวผู้แข่งขัน และสำหรับเรือ C2 หมายถึงลูกเรือคนหัวเรือสุด
- ผู้แข่งขันจะไม่ถูกให้ออกจากการแข่งขันในการพายเรือไปถูกทุ่นจุดเลี้ยว นอกจากกรมการที่จุดเลี้ยวจะมีความเห็นว่า การกระทำเช่นนั้นจะทำให้เกิดความได้เปรียบในการเลี้ยวหันเรือจะกระทำให้ใกล้ที่สุดเท่าที่จะทำได้กับทุ่นจุดเลี้ยว
การแซง (Overtaking)
- เรือที่พายแซงเรือลำอื่นในการแข่งขัน เป็นหน้าที่ของเรือที่แซงจะต้องคอยหลบหลีกเรือที่ถูกแซงตลอดเวลาในขณะที่แซง
- ห้ามเรือที่ถูกแซงจะเปลี่ยนทิศทางขวางต่อเรือที่แซง
การชนกันหรือการเกิดความเสียหาย (Collision or Damage)
- ผู้แข่งขันใดที่ทำให้เกิดเหตุเรือชนกัน หรือทำให้พายของเรือแคนูหรือเรือคยัคของผู้แข่งขันอื่นเสียหาย อาจถูกให้ออกจากการแข่งขัน
การเข้าเส้นชัย (Finish)
- เรือที่ถือว่าผ่านเส้นชัย หัวเรือจะต้องผ่านเส้นชัยและมีลูกเรือครบบนเรือ
- ถ้ามีเรือสองลำหรือมากกว่านั้น เข้าเส้นชัยในเวลาเดียวกัน ให้ถือว่ามีลำดับที่เดียวกัน
- ในกรณีที่มีผู้แข่งขันมีลำดับที่เดียวกัน (Dead Heat Finish) ซึ่งเป็นลำดับที่ที่จะต้องเลื่อนไปแข่งขันในระดับต่อไป จะต้องใช้กฎ ต่อไปนี้
ก. ถ้าหากมีจำนวนลู่เพียงพอสำหรับการแข่งขันในระดับต่อไป จะต้องใช้วิธีจับฉลากเพื่อกำหนดว่า เที่ยวแข่งขันใดที่เรือเหล่านี้จะเลื่อนเข้าไปแข่งขัน ถ้าเป็นไปได้ อาจจัดให้มีลู่ที่ 10 ด้วยก็ได้ (ปรกติสนามแข่งขันจะมี 9 ลู่)
ข. ถ้าหากมีจำนวนลู่ไม่พอ จะต้องจัดให้มีการแข่งขันกันขึ้นอีกครั้งระหว่างเรือที่เกี่ยวข้อง ในเวลาหนึ่งชั่วโมงหลังการแข่งขันเที่ยวสุดท้ายของวันหรือของครึ่งวันโปรแกรมการแข่งขัน
ค. ถ้าหากเกิดมีผู้แข่งขันได้ลำดับที่เท่ากันอีกในการแข่งขันครั้งใหม่นี้ จะต้องใช้วิธีการจับฉลากเพื่อเป็นการตัดสินสุดท้าย
ในเวลาต่อมาเรือแคนูเริ่มเป็นที่นิยมกันมากสำหรับนักท่องเที่ยวที่ชอบการผจญภัยกลางน้ำอันเชี่ยวกราดจึงได้มีการจัดตั้งเป็นสหพันธ์เรือแคนูนานาชาติ (International Canoe Federtion –I.C.F) ขึ้นในปี ค.ศ.1700 ได้มีการผลักดันกีฬาเรือแคนูให้เป็นกีฬาสาธิตในโอลิมปิกเกมส์เมื่อปี ค.ศ.1928 และอีก 12 ปีต่อมากีฬาเรือแคนูก็ได้บรรจุลงในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกอย่างถาวร ในการกีฬาจะใช้คำว่าเรือแคนูซึ่งหมายถึงทั้งเรือแคนูและคยัครวมกัน เอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 13 ที่ประเทศไทยได้เป็นเจ้าในการจัดการแข่งขัน กีฬาเรือแคนูก็เป็น 1 ประเภทของกีฬาที่จัดให้มีการแข่งขันนั้นด้วย
กฎการแข่งขัน (RACING REGULATIONS)
การให้ออกจากการแข่งขัน (Disqualifications)
- ผู้แข่งขันใดที่พยายามเอาชนะในการแข่งขันทุกวิธีอย่างไร้เกียรติ หรือฝ่าฝืนกฎการแข่งขัน หรือไม่คำนึงถึงธรรมชาติศักดิ์ศรีของกฎการแข่งขัน จะถูกให้ออกจากการแข่งขันในเที่ยวการแข่งขันที่เกี่ยวข้องนั้น
- ผู้แข่งขันเรือคยัคหรือเรือแคนูที่ได้แข่งขันจบเที่ยวไปแล้ว ซึ่งได้ปรากฎภายหลับจากการตรวจสอบว่าไม่เป็นไปตามการแบ่งประเภทของ ICF จะถูกให้ออกจากการแข่งขันในเที่ยวการแข่งขันนั้น
- ระหว่างการแข่งขัน ห้ามรับการช่วยเหลือจากภายนอก หรือมีเรือลำอื่นแล่นติดตามข้างสนามแข่งขันไปด้วย ถึงแม้จะอยู่ข้างนอกลู่แข่งขัน หรือขว้างสิ่งของเข้ามาในสนามแข่งขัน การกระทำทั้งหมดเช่นนั้น จะเป็นสาเหตุให้ผู้แข่งขันที่เกี่ยวข้องถูกให้ออกจากการแข่งขันได้การให้ออกจากการแข่งขันทั้งหมดโดยคณะกรรมการตัดสิน จะต้องกระทำเป็นหนังสือยืนยันทันทีพร้อมกับเหตุผล หัวหน้าทีมจะได้รับทราบจากสำเนาตามกำหนดเวลาซึ่งจะเป็นเวลาที่จะเริ่มยื่นการประท้วง
วิธีการขับเคลื่อนเรือ (Means of Propulsion)
- เรือคยัคจะขับเคลื่อนได้ด้วยการใช้พายชนิดสองใบ (Double-bladed paddles) อย่างเดียว
- เรือแคนูแบบแคนาเดียนจะขับเคลื่อนได้ด้วยการใช้พายชนิดใบเดียว (Single-bladed paddles) อย่างเดียว
- ห้ามยึดตรึงพายติดกับตัวเรือด้วยวิธีใด ๆ
- ถ้าเกิดหัก ผู้แข่งขันจะรับพายใหม่จากผู้สนับสนุนไม่ได้
ระบบการจัดแข่งขันรอบคัดเลือกและรอบชิงชนะเลิศ (Heats and Finals)
- จะต้องมีจำนวนเรือคยัคหรือเรือแคนูอย่างน้อยสามลำ จึงจะจัดการแข่งขันได้ ถ้ามีจำนวนเรือเข้าแข่งขันตั้งแต่ระยะ 1,000 ม. ลงมามาเกินไป จะต้องจัดให้มีรอบคัดเลือก (Heats) จำนวนเรือคยัคหรือเรือแคนูในแต่ละรอบคัดเลือกและรอบชิงชนะเลิศจะต้องไม่เกิน เก้า(9) ลำ
- การจัดแบ่ง (Division) เรือในแต่ละรอบคัดเลือก จะต้องกระทำด้วยการจับฉลาก
- เรือคยัคหรือเรือแคนูที่มีจำนวน แปด หรือเก้า ลำ ให้จัดแข่งขันเป็นรอบชิงชนะเลิศได้เลย ถ้าหากมีจำนวนเรือมากกว่านี้ ให้จัดแบ่งเรือเข้าแข่งขัน ดังนี้
3 ถึง 9 ลำ จัดเป็นรอบชิงชนะเลิศ
10 ถึง 14 ลำ จัดแข่งขันสองรอบแรก (Heats) ที่ 1-3 ของแต่ละรอบแรกไปรอแข่งขันรอบชิงชนะเลิศที่เหลือไปแข่งขันรอบรองชนะเลิศ (Semi-final) หนึ่งรอบ ที่ 1-3 ของรอบรองชนะเลิศไปแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ
15 ถึง 27 ลำ จัดแข่งขันสามรอบแรกที่ 1-2 ของแต่ละรอบแรก ไปรอแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ที่ 3-5 ของแต่ละรอบแรกไปแข่งขันรอบรองชนะเลิศหนึ่งรอบ ที่เหลือคัดออก ที่ 1-3 ของรอบรอบชนะเลิศไปแข่งขันรอบชนะเลิศ
มากกว่า 27 ลำ จัดแข่งขันจำนวนรอบแรกเท่าที่ต้องการตามจำนวนเรือเข้าแข่งขัน และจัดรอบรองชนะเลิศสามรอบที่ 1-3 ของแต่ละรอบรองชนะเลิศ ไปแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ
- การจัดแบ่งจำนวนเรือในแต่ละรอบแรก จะต้องจัดให้มีจำนวนเรือไปแข่งขันในรอบชิงชนะเลิศ (หรือในรอบรองชนะเลิศ) อย่างน้อยสามลำจากแต่ละรอบแรก
- การจับฉลากแบ่งเรือ ความแตกต่างกันในแต่ละรอบแรก จะต้องไม่เกินหนึ่งลำ ถ้าหากจำนวนเรือมีความแตกต่างกันในแต่ละรอบแรก จะต้องจัดจำนวนเรือในรอบแรกลำดับต้น ๆ ให้มีจำนวนมากกว่า
- ลูกเรือลำใดไม่ได้ร่วมแข่งขันในรอบคัดเลือกที่ได้กล่าวมาแล้ว จะไม่ได้รับอนุญาตให้แข่งขันในรอบชิงชนะเลิศ
องค์ประกอบของลูกเรือที่ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขันในรอบรองชนะเลิศ หรือรอบชิงชนะเลิศ จะเปลี่ยนตัวไม่ได้ การแข่งขันในรอบคัดเลือกและรอบชิงชนะเลิศ จะต้องใช้สนามแข่งขันเดียวกัน การเข้าแข่งขันในรอบชิงชนะเลิศ จะไม่ขึ้นอยู่กับเวลาที่ทำได้ในรอบคัดเลือก
- สำหรับการแข่งขันระยะเกินกว่า 1,000 ม. จะไม่จัดให้มีรอบคัดเลือก และทำการปล่อยเรือที่เข้าแข่งขันทั้งหมดพร้อมกัน
- ถ้าความกว้างของสนามแข่งขันไม่อำนวยให้ทำการปล่อยเรือพร้อมกัน ให้ทำการปล่อยเรืออย่างปรกติแบบเว้นช่วงเวลา
การปล่อยเรือ (Start)
- จะต้องมีการจับฉลากในการกำหนดตำแหน่งของเรือที่เส้นปล่อยเรือในรอบคัดเลือก จับได้หมายเลยหนึ่ง จะถูกวางไว้ทางซ้าย หมายเลขสองจะอยู่ถัดมาและต่อ ๆ ไป
- ในการแข่งขันที่มีรอบแรกหลายรอบ จะต้องมีการจับฉลากแยกแต่ละรอบแรก
- ผู้แข่งขันจะต้องอยู่ในพื้นที่ปล่อยเรือในเวลาที่เพียงพอต่อการเตรียมตัวให้พร้อมในการปล่อยเรือ การปล่อยเรือจะต้องเป็นไปตามเวลาที่กำหนด โดยจะไม่มีการรอเรือที่ยังไม่เข้าเส้นปล่อยเรือ ตำแหน่งของเรือที่เส้นปล่อยเรือ จะต้องอยู่ในลักษณะที่หัวเรือแข่งขันสัมผัสเส้นปล่อยเรือ
- เรือทุกลำจะต้องอยู่นิ่งไม่เคลื่อนที่
- กรรมการปล่อยเรือ จะประกาศให้ผู้แข่งขันที่เส้นปล่อยเรือได้เตรียมตัวว่า “เตรียมพร้อม หรือ ATTENTION PLEASE” และเมื่อเห็นทุกอย่างเรียบร้อย จะให้สัญญาณปล่อยเรือด้วยการยิงปืน
ในกรณีแข่งขันในระยะไกล กรรมการปล่อยเรือจะประกาศ “ONE TO GO BEFORE START” แล้วให้สัญญาณด้วยการยิงปืน
ใช้คำพูดว่า “ไป หรือ GO” แทนสัญญาณยิงปืนก็ได้
ถ้ากรรมการปล่อยเรือเห็นว่าเรือที่ออกตามสัญญาณปล่อยเรือ ไม่ได้อยู่ในแนวเส้นปล่อยเรืออย่างถูกต้อง จะสั่งให้ “หยุด หรือ STOP” แล้วมอบให้กรรมการกำกับเส้นปล่อยเรือจัดเรือเข้าเส้นปล่อยเรือใหม่
- ถ้าผู้แข่งขันลงพายออกเรือไปข้างหน้าหลังคำสั่ง “ATTENTION PLEASE” และก่อนเสียสัญญาณปืน ถือว่าผู้แข่งขันนั้นออกเรือผิดกติกา (False Start)
กรรมการปล่อยเรือจะต้องเตือนผู้แข่งขันที่กระทำผิดทันที
ถ้าการกระทำออกเรือผิดกติกาถึงสองครั้งโดยผู้แข่งขันคนเดียวกัน กรรมการปล่อยเรือจะต้องให้ผู้แข่งขันนั้นออกจากเที่ยวแข่งขันนั้น วิธีการเตือนครั้งหนึ่งแล้วตามด้วยการให้ออกจากการแข่งขันโดยกรรมการปล่อยเรือ จะใช้กับเรือ/ผู้แข่งขันที่ออกเรือผิดกติกาเท่านั้น ในกรณีที่มีการติดตังเครื่องปล่อยเรือแบบอัตโนมัติและทำงานได้ถูกต้องการออกเรือผิดกติกาจะไม่เกิดขึ้น
การยับยั้ง (Interruption)
- กรรมการกำกับสนามแข่งขัน มีสิทธิยับยั้งหรือหยุดเรือที่ถูกปล่อยเรือออกมาอย่างถูกต้องในการแข่งขันระยะสั้น ถ้ามีอุปสรรคที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น การยับยั้งดังกล่าวจะมีขึ้นได้ด้วยการแสดงสัญญาณธงสีแดงและสัญญาณเสียงของกรรมการกำกับสนามแข่งขัน ผู้แข่งขัน จะต้องหยุดพายและรอฟังคำสั่งต่อไป
- ถ้ามีการประกาศเที่ยวแข่งขันเป็นโมฆะ จะต้องไม่มีการเปลี่ยนตัวลูกเรือใจการปล่อยเรือครั้งใหม่
- ในเหตุการณ์ที่มีเรือล่ม ผู้แข่งขันหรือลูกเรือ จะถูกให้ออกจากการแข่งขัน ถ้าไม่สามารถกลับขึ้นบนเรือได้โดยไม่มีการช่วยเหลือจากภายนอก
การพายนำและพายเกาะติดตาม (Taking pace and Hanging)
- การพายนำหรือการได้รับการช่วยเหลือจากเรือที่ไม่ได้ร่วมแข่งขัน หรือด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งจะกระทำไม่ได้
- ระหว่างการแข่งขันดำเนินการอยู่ ห้ามเด็ดขาดสำหรับลูกเรือที่ไม่ได้ร่วมการแข่งขันเข้าไปดำเนินการทั้งหมดหรือส่วนใดส่วนหนึ่งในสนามแข่งขัน รวมทั้งทางด้านนอกเครื่องหมายทุ่นลอย
- การแข่งขันในระยะตั้งแต่ 1,000 ม.ลงมา ผู้แข่งขันจะต้องรักษาตำแหน่งอยู่ในลู่ของตนตั้งแต่เส้นปล่อยเรือจนถึงเส้นชัยของสนามแข่งขัน ห้ามพายเกาะติดตามและพายเข้าใกล้ผู้แข่งขันอื่นน้อยกว่าห้าเมตรทุกทิศทาง
- การแข่งขันในระยะตั้งแต่ 1,000 ม.ขึ้นไป ผู้แข่งขันอาจพายออกนอกลู่ของตนได้ แต่ต้องไม่ไปกีดขวางผู้แข่งขันอื่น
- การแข่งขันในระยะไกล จะใช้สัญญาณเตือน เช่น เสียระฆัง ให้ผู้แข่งขันได้ทราบว่ากำลังผ่านระยะ 1,000 ม.จากเส้นชัย
การเลี้ยวหัน (Turn)
- เมื่อการแข่งขันหระทำในสนามแข่งขันที่มีจุดเลี้ยว การเลี้ยวหันของเรือจะต้องกระทำโดยเอาจุดเลี้ยวไว้ทางกราบซ้ายของเรือ (เลี้ยวในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา)
- เมื่อพายเรือรอบจุดเลี้ยว ผู้แข่งขันที่อยู่ทางด้านนอกจะต้องให้ทางแก่ผู้แข่งขันที่อยู่ทางด้านใน ถ้าหัวเรือของผู้แข่งขันนั้นอย่างน้อยอยู่เสมอในแนวเดียวกับของดาดฟ้าเปิด (ช่องนั่งฝีพาย) ด้านหัวเรือของผู้แข่งขันด้านนอก สำหรับเรือ K2 และ K4 หมายถึงช่องนั่งฝีพายหัวเรือ สำหรับเรือ C1 หมายถึงตัวผู้แข่งขัน และสำหรับเรือ C2 หมายถึงลูกเรือคนหัวเรือสุด
- ผู้แข่งขันจะไม่ถูกให้ออกจากการแข่งขันในการพายเรือไปถูกทุ่นจุดเลี้ยว นอกจากกรมการที่จุดเลี้ยวจะมีความเห็นว่า การกระทำเช่นนั้นจะทำให้เกิดความได้เปรียบในการเลี้ยวหันเรือจะกระทำให้ใกล้ที่สุดเท่าที่จะทำได้กับทุ่นจุดเลี้ยว
การแซง (Overtaking)
- เรือที่พายแซงเรือลำอื่นในการแข่งขัน เป็นหน้าที่ของเรือที่แซงจะต้องคอยหลบหลีกเรือที่ถูกแซงตลอดเวลาในขณะที่แซง
- ห้ามเรือที่ถูกแซงจะเปลี่ยนทิศทางขวางต่อเรือที่แซง
เรือแคนูมีมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์หลายพันปี โดยชาวอินเดียนแดง ซึ่งเรือแคนูถูกสร้างขึ้นเพื่อการเดินทาง การค้าขาย การสงคราม และเพื่อการล่าสัตว์ รูปลักษณ์มีความต่างกันตามสภาพแวดล้อมถิ่นที่อยู่อาศัย เช่นเรือแคนูของชาวเมารีในประเทศนิวซีแลนด์มีความยาว 35 เมตร ใช้ฝีพายถึง 80 คน ชาวอินเดียนแดงในทวีปอเมริกาเหนือสร้างเรือแคนูจากหนังกวาง และเปลือกไม้เอิร์ซ (Birch bark) ส่วนชาวอียิปต์ทำมาจากเปลือกไม้พาพัยรัส (Papyrus reeds) ส่วนชาวโพลีนีเซียนใช้ท่อนซุงทำเรือแคนู ชาวเอสกิโมในประเทศกรีนแลนด์ได้สร้างเรือขึ้นมาชนิดหนึ่งโดยเรียกว่า คยัค มีลักษณะคล้ายเรือแคนูแต่มีฝาปิดเรือคยัคนี้ถูกค้นพบโดยนักสำรวจชาวอังกฤษที่ชื่อ Burrough ในปี ค.ศ.1556
ในเวลาต่อมาเรือแคนูเริ่มเป็นที่นิยมกันมากสำหรับนักท่องเที่ยวที่ชอบการผจญภัยกลางน้ำอันเชี่ยวกราดจึงได้มีการจัดตั้งเป็นสหพันธ์เรือแคนูนานาชาติ (International Canoe Federtion –I.C.F) ขึ้นในปี ค.ศ.1700 ได้มีการผลักดันกีฬาเรือแคนูให้เป็นกีฬาสาธิตในโอลิมปิกเกมส์เมื่อปี ค.ศ.1928 และอีก 12 ปีต่อมากีฬาเรือแคนูก็ได้บรรจุลงในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกอย่างถาวร ในการกีฬาจะใช้คำว่าเรือแคนูซึ่งหมายถึงทั้งเรือแคนูและคยัครวมกัน เอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 13 ที่ประเทศไทยได้เป็นเจ้าในการจัดการแข่งขัน กีฬาเรือแคนูก็เป็น 1 ประเภทของกีฬาที่จัดให้มีการแข่งขันนั้นด้วย
กฎการแข่งขัน (RACING REGULATIONS)
การให้ออกจากการแข่งขัน (Disqualifications)
- ผู้แข่งขันใดที่พยายามเอาชนะในการแข่งขันทุกวิธีอย่างไร้เกียรติ หรือฝ่าฝืนกฎการแข่งขัน หรือไม่คำนึงถึงธรรมชาติศักดิ์ศรีของกฎการแข่งขัน จะถูกให้ออกจากการแข่งขันในเที่ยวการแข่งขันที่เกี่ยวข้องนั้น
- ผู้แข่งขันเรือคยัคหรือเรือแคนูที่ได้แข่งขันจบเที่ยวไปแล้ว ซึ่งได้ปรากฎภายหลับจากการตรวจสอบว่าไม่เป็นไปตามการแบ่งประเภทของ ICF จะถูกให้ออกจากการแข่งขันในเที่ยวการแข่งขันนั้น
- ระหว่างการแข่งขัน ห้ามรับการช่วยเหลือจากภายนอก หรือมีเรือลำอื่นแล่นติดตามข้างสนามแข่งขันไปด้วย ถึงแม้จะอยู่ข้างนอกลู่แข่งขัน หรือขว้างสิ่งของเข้ามาในสนามแข่งขัน การกระทำทั้งหมดเช่นนั้น จะเป็นสาเหตุให้ผู้แข่งขันที่เกี่ยวข้องถูกให้ออกจากการแข่งขันได้
- การให้ออกจากการแข่งขันทั้งหมดโดยคณะกรรมการตัดสิน จะต้องกระทำเป็นหนังสือยืนยันทันทีพร้อมกับเหตุผล หัวหน้าทีมจะได้รับทราบจากสำเนาตามกำหนดเวลาซึ่งจะเป็นเวลาที่จะเริ่มยื่นการประท้วง
วิธีการขับเคลื่อนเรือ (Means of Propulsion)
- เรือคยัคจะขับเคลื่อนได้ด้วยการใช้พายชนิดสองใบ (Double-bladed paddles) อย่างเดียว
- เรือแคนูแบบแคนาเดียนจะขับเคลื่อนได้ด้วยการใช้พายชนิดใบเดียว (Single-bladed paddles) อย่างเดียว
- ห้ามยึดตรึงพายติดกับตัวเรือด้วยวิธีใด ๆ
- ถ้าเกิดหัก ผู้แข่งขันจะรับพายใหม่จากผู้สนับสนุนไม่ได้
ระบบการจัดแข่งขันรอบคัดเลือกและรอบชิงชนะเลิศ (Heats and Finals)
- จะต้องมีจำนวนเรือคยัคหรือเรือแคนูอย่างน้อยสามลำ จึงจะจัดการแข่งขันได้ ถ้ามีจำนวนเรือเข้าแข่งขันตั้งแต่ระยะ 1,000 ม. ลงมามาเกินไป จะต้องจัดให้มีรอบคัดเลือก (Heats) จำนวนเรือคยัคหรือเรือแคนูในแต่ละรอบคัดเลือกและรอบชิงชนะเลิศจะต้องไม่เกิน เก้า(9) ลำ
- การจัดแบ่ง (Division) เรือในแต่ละรอบคัดเลือก จะต้องกระทำด้วยการจับฉลาก
- เรือคยัคหรือเรือแคนูที่มีจำนวน แปด หรือเก้า ลำ ให้จัดแข่งขันเป็นรอบชิงชนะเลิศได้เลย ถ้าหากมีจำนวนเรือมากกว่านี้ ให้จัดแบ่งเรือเข้าแข่งขัน ดังนี้
3 ถึง 9 ลำ จัดเป็นรอบชิงชนะเลิศ
10 ถึง 14 ลำ จัดแข่งขันสองรอบแรก (Heats) ที่ 1-3 ของแต่ละรอบแรกไปรอแข่งขันรอบชิงชนะเลิศที่เหลือไปแข่งขันรอบรองชนะเลิศ (Semi-final) หนึ่งรอบ ที่ 1-3 ของรอบรองชนะเลิศไปแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ
15 ถึง 27 ลำ จัดแข่งขันสามรอบแรกที่ 1-2 ของแต่ละรอบแรก ไปรอแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ที่ 3-5 ของแต่ละรอบแรกไปแข่งขันรอบรองชนะเลิศหนึ่งรอบ ที่เหลือคัดออก ที่ 1-3 ของรอบรอบชนะเลิศไปแข่งขันรอบชนะเลิศ
มากกว่า 27 ลำ จัดแข่งขันจำนวนรอบแรกเท่าที่ต้องการตามจำนวนเรือเข้าแข่งขัน และจัดรอบรองชนะเลิศสามรอบที่ 1-3 ของแต่ละรอบรองชนะเลิศ ไปแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ
- การจัดแบ่งจำนวนเรือในแต่ละรอบแรก จะต้องจัดให้มีจำนวนเรือไปแข่งขันในรอบชิงชนะเลิศ (หรือในรอบรองชนะเลิศ) อย่างน้อยสามลำจากแต่ละรอบแรก
- การจับฉลากแบ่งเรือ ความแตกต่างกันในแต่ละรอบแรก จะต้องไม่เกินหนึ่งลำ ถ้าหากจำนวนเรือมีความแตกต่างกันในแต่ละรอบแรก จะต้องจัดจำนวนเรือในรอบแรกลำดับต้น ๆ ให้มีจำนวนมากกว่า
- ลูกเรือลำใดไม่ได้ร่วมแข่งขันในรอบคัดเลือกที่ได้กล่าวมาแล้ว จะไม่ได้รับอนุญาตให้แข่งขันในรอบชิงชนะเลิศ
- องค์ประกอบของลูกเรือที่ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขันในรอบรองชนะเลิศ หรือรอบชิงชนะเลิศ จะเปลี่ยนตัวไม่ได้ การแข่งขันในรอบคัดเลือกและรอบชิงชนะเลิศ จะต้องใช้สนามแข่งขันเดียวกัน การเข้าแข่งขันในรอบชิงชนะเลิศ จะไม่ขึ้นอยู่กับเวลาที่ทำได้ในรอบคัดเลือก
- สำหรับการแข่งขันระยะเกินกว่า 1,000 ม. จะไม่จัดให้มีรอบคัดเลือก และทำการปล่อยเรือที่เข้าแข่งขันทั้งหมดพร้อมกัน
- ถ้าความกว้างของสนามแข่งขันไม่อำนวยให้ทำการปล่อยเรือพร้อมกัน ให้ทำการปล่อยเรืออย่างปรกติแบบเว้นช่วงเวลา
การปล่อยเรือ (Start)
- จะต้องมีการจับฉลากในการกำหนดตำแหน่งของเรือที่เส้นปล่อยเรือในรอบคัดเลือก จับได้หมายเลยหนึ่ง จะถูกวางไว้ทางซ้าย หมายเลขสองจะอยู่ถัดมาและต่อ ๆ ไป
- ในการแข่งขันที่มีรอบแรกหลายรอบ จะต้องมีการจับฉลากแยกแต่ละรอบแรก
- ผู้แข่งขันจะต้องอยู่ในพื้นที่ปล่อยเรือในเวลาที่เพียงพอต่อการเตรียมตัวให้พร้อมในการปล่อยเรือ การปล่อยเรือจะต้องเป็นไปตามเวลาที่กำหนด โดยจะไม่มีการรอเรือที่ยังไม่เข้าเส้นปล่อยเรือ ตำแหน่งของเรือที่เส้นปล่อยเรือ จะต้องอยู่ในลักษณะที่หัวเรือแข่งขันสัมผัสเส้นปล่อยเรือ
- เรือทุกลำจะต้องอยู่นิ่งไม่เคลื่อนที่
- กรรมการปล่อยเรือ จะประกาศให้ผู้แข่งขันที่เส้นปล่อยเรือได้เตรียมตัวว่า “เตรียมพร้อม หรือ ATTENTION PLEASE” และเมื่อเห็นทุกอย่างเรียบร้อย จะให้สัญญาณปล่อยเรือด้วยการยิงปืน
ในกรณีแข่งขันในระยะไกล กรรมการปล่อยเรือจะประกาศ “ONE TO GO BEFORE START” แล้วให้สัญญาณด้วยการยิงปืน
ใช้คำพูดว่า “ไป หรือ GO” แทนสัญญาณยิงปืนก็ได้
ถ้ากรรมการปล่อยเรือเห็นว่าเรือที่ออกตามสัญญาณปล่อยเรือ ไม่ได้อยู่ในแนวเส้นปล่อยเรืออย่างถูกต้อง จะสั่งให้ “หยุด หรือ STOP” แล้วมอบให้กรรมการกำกับเส้นปล่อยเรือจัดเรือเข้าเส้นปล่อยเรือใหม่
- ถ้าผู้แข่งขันลงพายออกเรือไปข้างหน้าหลังคำสั่ง “ATTENTION PLEASE” และก่อนเสียสัญญาณปืน ถือว่าผู้แข่งขันนั้นออกเรือผิดกติกา (False Start)
กรรมการปล่อยเรือจะต้องเตือนผู้แข่งขันที่กระทำผิดทันที
ถ้าการกระทำออกเรือผิดกติกาถึงสองครั้งโดยผู้แข่งขันคนเดียวกัน กรรมการปล่อยเรือจะต้องให้ผู้แข่งขันนั้นออกจากเที่ยวแข่งขันนั้น วิธีการเตือนครั้งหนึ่งแล้วตามด้วยการให้ออกจากการแข่งขันโดยกรรมการปล่อยเรือ จะใช้กับเรือ/ผู้แข่งขันที่ออกเรือผิดกติกาเท่านั้น ในกรณีที่มีการติดตังเครื่องปล่อยเรือแบบอัตโนมัติและทำงานได้ถูกต้องการออกเรือผิดกติกาจะไม่เกิดขึ้น
การยับยั้ง (Interruption)
- กรรมการกำกับสนามแข่งขัน มีสิทธิยับยั้งหรือหยุดเรือที่ถูกปล่อยเรือออกมาอย่างถูกต้องในการแข่งขันระยะสั้น ถ้ามีอุปสรรคที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น การยับยั้งดังกล่าวจะมีขึ้นได้ด้วยการแสดงสัญญาณธงสีแดงและสัญญาณเสียงของกรรมการกำกับสนามแข่งขัน ผู้แข่งขัน จะต้องหยุดพายและรอฟังคำสั่งต่อไป
- ถ้ามีการประกาศเที่ยวแข่งขันเป็นโมฆะ จะต้องไม่มีการเปลี่ยนตัวลูกเรือใจการปล่อยเรือครั้งใหม่
- ในเหตุการณ์ที่มีเรือล่ม ผู้แข่งขันหรือลูกเรือ จะถูกให้ออกจากการแข่งขัน ถ้าไม่สามารถกลับขึ้นบนเรือได้โดยไม่มีการช่วยเหลือจากภายนอก
การพายนำและพายเกาะติดตาม (Taking pace and Hanging)
- การพายนำหรือการได้รับการช่วยเหลือจากเรือที่ไม่ได้ร่วมแข่งขัน หรือด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งจะกระทำไม่ได้
- ระหว่างการแข่งขันดำเนินการอยู่ ห้ามเด็ดขาดสำหรับลูกเรือที่ไม่ได้ร่วมการแข่งขันเข้าไปดำเนินการทั้งหมดหรือส่วนใดส่วนหนึ่งในสนามแข่งขัน รวมทั้งทางด้านนอกเครื่องหมายทุ่นลอย
- การแข่งขันในระยะตั้งแต่ 1,000 ม.ลงมา ผู้แข่งขันจะต้องรักษาตำแหน่งอยู่ในลู่ของตนตั้งแต่เส้นปล่อยเรือจนถึงเส้นชัยของสนามแข่งขัน ห้ามพายเกาะติดตามและพายเข้าใกล้ผู้แข่งขันอื่นน้อยกว่าห้าเมตรทุกทิศทาง
- การแข่งขันในระยะตั้งแต่ 1,000 ม.ขึ้นไป ผู้แข่งขันอาจพายออกนอกลู่ของตนได้ แต่ต้องไม่ไปกีดขวางผู้แข่งขันอื่น
- การแข่งขันในระยะไกล จะใช้สัญญาณเตือน เช่น เสียระฆัง ให้ผู้แข่งขันได้ทราบว่ากำลังผ่านระยะ 1,000 ม.จากเส้นชัย
การเลี้ยวหัน (Turn)
- เมื่อการแข่งขันหระทำในสนามแข่งขันที่มีจุดเลี้ยว การเลี้ยวหันของเรือจะต้องกระทำโดยเอาจุดเลี้ยวไว้ทางกราบซ้ายของเรือ (เลี้ยวในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา)
- เมื่อพายเรือรอบจุดเลี้ยว ผู้แข่งขันที่อยู่ทางด้านนอกจะต้องให้ทางแก่ผู้แข่งขันที่อยู่ทางด้านใน ถ้าหัวเรือของผู้แข่งขันนั้นอย่างน้อยอยู่เสมอในแนวเดียวกับของดาดฟ้าเปิด (ช่องนั่งฝีพาย) ด้านหัวเรือของผู้แข่งขันด้านนอก สำหรับเรือ K2 และ K4 หมายถึงช่องนั่งฝีพายหัวเรือ สำหรับเรือ C1 หมายถึงตัวผู้แข่งขัน และสำหรับเรือ C2 หมายถึงลูกเรือคนหัวเรือสุด
- ผู้แข่งขันจะไม่ถูกให้ออกจากการแข่งขันในการพายเรือไปถูกทุ่นจุดเลี้ยว นอกจากกรมการที่จุดเลี้ยวจะมีความเห็นว่า การกระทำเช่นนั้นจะทำให้เกิดความได้เปรียบในการเลี้ยวหันเรือจะกระทำให้ใกล้ที่สุดเท่าที่จะทำได้กับทุ่นจุดเลี้ยว
การแซง (Overtaking)
- เรือที่พายแซงเรือลำอื่นในการแข่งขัน เป็นหน้าที่ของเรือที่แซงจะต้องคอยหลบหลีกเรือที่ถูกแซงตลอดเวลาในขณะที่แซง
- ห้ามเรือที่ถูกแซงจะเปลี่ยนทิศทางขวางต่อเรือที่แซง
การชนกันหรือการเกิดความเสียหาย (Collision or Damage)
- ผู้แข่งขันใดที่ทำให้เกิดเหตุเรือชนกัน หรือทำให้พายของเรือแคนูหรือเรือคยัคของผู้แข่งขันอื่นเสียหาย อาจถูกให้ออกจากการแข่งขัน
การเข้าเส้นชัย (Finish)
- เรือที่ถือว่าผ่านเส้นชัย หัวเรือจะต้องผ่านเส้นชัยและมีลูกเรือครบบนเรือ
- ถ้ามีเรือสองลำหรือมากกว่านั้น เข้าเส้นชัยในเวลาเดียวกัน ให้ถือว่ามีลำดับที่เดียวกัน
- ในกรณีที่มีผู้แข่งขันมีลำดับที่เดียวกัน (Dead Heat Finish) ซึ่งเป็นลำดับที่ที่จะต้องเลื่อนไปแข่งขันในระดับต่อไป จะต้องใช้กฎ ต่อไปนี้
ก. ถ้าหากมีจำนวนลู่เพียงพอสำหรับการแข่งขันในระดับต่อไป จะต้องใช้วิธีจับฉลากเพื่อกำหนดว่า เที่ยวแข่งขันใดที่เรือเหล่านี้จะเลื่อนเข้าไปแข่งขัน ถ้าเป็นไปได้ อาจจัดให้มีลู่ที่ 10 ด้วยก็ได้ (ปรกติสนามแข่งขันจะมี 9 ลู่)
ข. ถ้าหากมีจำนวนลู่ไม่พอ จะต้องจัดให้มีการแข่งขันกันขึ้นอีกครั้งระหว่างเรือที่เกี่ยวข้อง ในเวลาหนึ่งชั่วโมงหลังการแข่งขันเที่ยวสุดท้ายของวันหรือของครึ่งวันโปรแกรมการแข่งขัน
ค. ถ้าหากเกิดมีผู้แข่งขันได้ลำดับที่เท่ากันอีกในการแข่งขันครั้งใหม่นี้ จะต้องใช้วิธีการจับฉลากเพื่อเป็นการตัดสินสุดท้าย
วันอังคารที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
เรื่องกล้วย.......กล้วย.........
กล้วย
กล้วย เป็นพืชพื้นบ้านของไทยที่ถูกนำมาใช้ประโยชน์ในทุกยุคทุกสมัย เพราะทุกส่วนของกล้วยสามารถนำมาใชประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นอาหาร ขนม ของตกแต่ง กระทง หรือภาชนะ
ถิ่นกำเนิดของกล้วย (First Home)
กล้วยเป็นพืชที่ชอบอากาศร้อนชื้น ถิ่นแรกของกล้วยจึงอยู่แถบเอเชียตอนใต้ ซึ่งจะพบกล้วยพื้นเมืองทั้งที่มีเมล็ดและไม่มีเมล็ด และจากผลของการย้ายถิ่นฐานในการทำมาหากิน การอพยพประชากรจากเอเชียตอนใต้ไปยังหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งแต่ต้นคริสต์ศักราชเป็นต้นมา ในการอพยพแต่ละครั้งจะต้องมีการนำเอาเสบียงอาหารติดตัวไปด้วย จึงได้มีการนำเอากล้วยไปปลูกแถบหมู่เกาะฮาวายและหมู่เกาะทางด้านตะวันออก
สำหรับประวัติกล้วยในประเทศไทย เข้าใจว่าประเทศไทยเป็นแหล่งกำเนิดของกล้วยป่าและต่อมาได้มีการนำเข้ากล้วยตานี และกล้วยชนิดอื่นในช่วงที่มีการอพยพของคนไทยในการตั้งถิ่นฐานอยู่ที่จังหวัดสุโขทัย มีเอกสารกล่าวว่าในสมัยอยุธยาพบว่ามีกล้วยร้อยหวี
ลักษณะทั่วไป
กล้วย เป็นไม้ผล ลำต้น เกิดจากกาบหุ้มซ้อนกัน สูงประมาณ 2 – 5 เมตร
ใบ เป็นใบเดี่ยว เกิดกระจายส่วนปลายของลำต้นเวียนสลับซ้ายขวาต่างระนาบกัน ก้านใบยาว แผ่น ใบกว้าง เส้นของใบขนานกัน ปลายใบมน มีติ่ง ผิวใบเรียบลื่น ใบมีสีเขียวด้านล่างมีไขนวลหรือแป้งปกคลุม เส้นและขอบใบเรียบ ขนาดและความยาวของใบขึ้นอยู่กับแต่ละพันธุ์
ดอก เป็นดอกห้อยลงมายาวประมาณ 60 – 130 ซม. ซึ่งเรียกว่าหัวปลี ตามช่อจะมีกาบหุ้มสีแดงเป็นรูปกลมรี ยาว 15 – 30 ซม. ช่อดอกมีเจริญก็จะกลายเป็นผล ผล เป็นผลสดจะประกอบด้วยหวีกล้วย เครือละ 7 – 8 หวี แต่ละหวีมีกล้วยอยู่ประมาณ 10 กว่าลูก ขนาดและสีของกล้วยจะมีลักษณะแตกต่างกันออกไปตามชนิดของแต่ละพันธุ์ บางชนิดมีผลสีเขียว , เหลือง , แดง แต่ละต้นให้ผลครั้งเดี่ยวเท่านั้น เมล็ด มีลักษณะกลมขรุขระ เปลือกหุ้มเมล็ดมีสีดำ หนาเหนียวเนื้อในเมล็ดมีสีขาว
ขยายพันธุ์ ด้วยการแยกหน่อ หรือแยกเหง้า
รสชาติ รสฝาด
ประโยชน์
ทางด้านอาหาร เป็นไม้ผลนำมาบริโภค ใบนำมาห่อขนม หรือส่วนของลำต้น ใบนำมาทำกระทง ก้านนำมาประดิษฐ์เป็นของเล่น
ประโยชน์ทางสมุนไพร ยางกล้วยจากใบใช้ห้ามเลือด โดยหยดยางลงบนแผล ใช้กล้วยดิบทั้งลูกบดกับน้ำให้ละเอียด และใส่น้ำตาล รับประทาน แก้โรคท้องเสีย แผลในกระเพาะอาหารไม่ย่อย ผลสุกให้เป็นอาหารเป็นยาระบายที่เป็นโรคริดสีดวงทวาร อุจาจาระแข็ง หัวปลี แก้โรคลำไส้ แก้โรคโลหิตจาง และลดน้ำตาลในเลือด
รูปร่างและลักษณะของกล้วยแต่ละชนิดในประเทศไทย
เนื่องจากกล้วยแต่ละชนิดมีรูปร่างและลักษณะเฉพาะตัว ฉะนั้นจึงจำเป็นต้องแจกแจงให้เกิดความเด่นชัดของกล้วยแต่ละชนิดไว้ดังต่อไปนี้ :
• กล้วยสกุล Musa : มีการแตกหน่อและใช้ผลรับประทานได้
กล้วยสกุล Musa ในหมู่ Callimusa: ที่พบในประเทศไทยขณะนี้มีชนิดเดียว คือ
กล้วยป่าชนิด Musa gracilis Horltt. ชื่ออื่นๆ กล้วยทหารพราน หรือกล้วยเลือด
กล้วยชนิดนี้ มีลำต้นเทียมสูง 0.6 – 2 เมตร โคนต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 8 เซนติเมตร กาบและใบมีปื้นสีม่วงเข้ม ใบกว้าง 25-35 เซนติเมตร ยาว 90-150 เซนติเมตร สีเขียว มีนวล ก้านใบยาว 30-70 เซนติเมตร ช่อดอกตั้งยาว 60 เซนติเมตรหรือกว่านั้น ก้านช่อดอกมีขนสั้นปกคลุมหนาแน่น ดอกตัวเมียสีขาวหม่น ปลายสีเขียว ยาว 2.5-4 เซนติเมตร เรียวชิดกัน 3-8 แถว แถวหนึ่ง มี 2-4 ดอก ใบประดับกว้างประมาณ 4.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 15 เวนติเมตร สีม่วงปลายสีเขียว อาจร่วงหลุดไปก่อนบ้าง ดอกตัวผู้สีเหลือง ยาวประมาณ 4 เซนติเมตร ผลตรง สีเขียว มีนวลและมีทางสีม่วงตามยาวของผล ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 เซนติเมตร เป็นเหลี่ยม 2-3 เหลี่ยม ปลายทู่ ก้านผลยาวประมาณ 2 เซนติเมตร เมื่อยังอ่อนมีขนประปราย แก่แล้วผิวเกลี้ยง
กล้วยป่าชนิดนี้มีเขตการกระจายพันธุ์ในประเทศไทยทางภาคใต้ ในท้องที่จังหวัดยะลาและนราธิวาส ขึ้นในป่าดิบชื้น ในต่างประเทศพบที่มาเลเซีย ชาวมลายูเรียกว่าปีชังกะแต ปีชังเวก และปีชังโอนิก
กล้วยสกุล Musa ในหมู่ Eumusa: ในประเทศไทยมี 3 ชนิด คือ
กล้วยป่า ( Musa acuminata Colla) ชื่ออื่น ๆ กล้วยแข้ ( เหนือ ). กล้วยเถื่อน ( ใต้ ). กล้วยลิง ( อุตรดิตถ์ ). กล้วยหม่น ( เชียงใหม่ )
กล้วยป่า มี ลำต้นเทียมสูง 2.5 – 3.5 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางต่ำกว่า 15 เซนติเมตร กาบลำต้นนอกมีปื้นดำ มีนวลเล็กน้อย ส่วนด้านในสีแดง ก้านใบสีชมพูอมแดงมีจุดดำ มีครีบเส้นกลางใบสีเขียว ใบชูขึ้นค่อนข้างตรง ก้านช่อดอกมีขนอ่อน ๆ มาก ใบประดับรูปค่อนข้างยาว ปลายแหลมด้านบนสีม่วงอมแดง มีนวล ด้านล่างที่โคนสีแดงจัด เมื่อใบกางตั้งขึ้นจะเอนไปด้านหลัง และม้วนงอเห็นได้ชัด การเรียงของใบประดับช่อดอกไม่ค่อยช้อนมาก และจะมีลักษณะนูนขึ้นที่โคนของใบประดับ เห็นเป็นสันชัดเจนเมื่อใบประดับหลุดออก ดอกย่อยมีก้านดอกสั้น ผลมีก้านและมีขนาดเล็ก รูปร่างของผลมีหลายแบบแล้วแต่ชนิดย่อย (Subspecies) บางชนิดมีผลโค้งงอ บางชนิดไม่โค้งงอ ผลมีเนื้อน้อยสีขาว รสหวาน มีเมล็ดจำนวนมาก สีดำ ผนังหนา และแข็ง
กล้วยป่าที่พบในประเทศไทยมี 4 ชนิดย่อย (Subspecies) คือ
• Musa acuminata Colla ssp. siamea Simmonds
• M. acuminata Colla ssp. burmanisa Simmonds
• M. acuminata Colla ssp. malaccensis (Ridl.) Simmonds
• M. acuminata Colla ssp. microcarpa (Becc.) Simmonds
กล้วยเหล่านี้พบว่าขึ้นอยู่ทั่วไปในป่าดิบ มีเขตการกระจายพันธุ์ในประเทศไทยทั่วทุกภาคในต่างประเทศพบที่อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และภูมิภาคมาเลเซีย กล้วยชนิดนี้ นอกจากขยายพันธุ์ด้วยการแยกหน่อแล้ว ยังใช้เมล็ดปลูกได้ ผลของกล้วยป่าเมื่อสุกกินได้ แต่ไม่นิยมเพราะมีเมล็ดมาก ผลอ่อนและหัวปลีรับประทานได้
กล้วยตานี ( Musa balbisiana Colla) ชื่ออื่น ๆ กล้วยงู ( พิจิตร ): กล้วยชะนีใน . กล้วยตานีใน . กล้วยป่า . กล้วยเมล็ด ( สุรินทร์ ): กล้วยพองลา ( ใต้ )
กล้วยตานี ลำต้นเทียมสูง 3.5-4 เมตร เว้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 20 เซนติเมตร สีเขียว ไม่มีปื้นดำ กาบลำต้นด้านในสีเขียว ก้านใบสีเขียว เส้นกลางใบสีเขียวไม่มีร่อง ก้านช่อดอกสีเขียวไม่มีขน ใบประดับรูปค่อนข้างป้อม มีความกว้างมาก ปลายมน ด้านบนสีแดงอมม่วง มีนวล ด้านล่างสีแดงเข้มสดใส เมื่อใบประดับกางขึ้นตั้งฉากกับช่อดอกและไม่ม้วนงอ ใบประดับแต่ละใบซ้อนกันลึก เครือหนึ่งมีประมาณ 8 หวี หวีหนึ่งมี 10-14 ผล ผลป้อมขนาดใหญ่ มีเหลี่ยมเห็นชัดเจน ลักษณะคล้ายกล้วยหักมุกแต่ปลายทู่ ก้านผลยาว ผลเมื่อสุกผิวเปลี่ยนเป็นสีเหลือง เนื้อมีรสหวาน มีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดใหญ่สีดำ ผนังหนา แข็ง
กล้วยตานีที่พบในประเทศไทยมี 3 ชนิด แตกต่างที่ลำต้นเทียมและผล กล่าวคือกล้วยตานีพบทางภาคเหนือนั้น ลำต้นเทียมเกลี้ยงไม่มีปื้นดำเลย ผลจะสั้น ป้อม ส่วนตานีอีสานจะมีลำต้นเทียมที่มีประดำเล็กน้อย ผลคล้ายกล้วยน้ำว้า แต่ตานีทางภาคใต้ ลำต้นเทียมค่อนข้างจะมีปื้นดำหนา ผลคล้ายตานีเหนือแต่นาวกว่า และมีสีเขียวเป็นเงา นอกจากนี้ยังได้มีการนำตานีดำมาจากฟิลิปปินส์ แต่ตานีดำนี้เป็นพันธุ์พื้นเมืองของอินโดนีเซีย ลำต้นเทียมสีม่วงดำและเส้นกลางใบสีม่วงดำสี
เข้มมากจนดูเหมือนสีดำ ผลสีเขียวเข้มเป็นมันมีลักษณะคล้ายตานีใต้ มีเมล็ดมาก
กล้วยหก ( Musa itinerans Cheeseman) , กล้วยแดง ชื่ออื่น ๆ กล้วยอ่างขาง
กล้วยหกเป็นกล้วยป่าอีกชนิดหนึ่งใน section Eumusa ลำต้นเทียมสูงประมาณ 2.5 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 15 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านนอกสีเขียวอมเหลืองมีประดำเล็กน้อย ด้านในสีเหลืองอ่อน ก้านในสีเขียวอมเหลืองและมีประเล็กน้อยมีปีก เส้นกลางใบสีเขียวก้านช่อดอกมีขน ใบประดับรูปไข่ ปลายมน ด้านบนสีเหลืองอมม่วงเข้ม ไม่มีนวล ด้านล่างสีครีม แต่ละใบเรียงซ้อนกันลึกและมีสันตื้นเมื่อใบประกอบหลุด เครือหนึ่งมี 5-7 หวี หวีหนึ่งมี 9-13 ผล ผลป้อม ปลายทู่ โคนเรียว ก้านผลยาวเกือบเท่าความยาวของผล เนื้อสีเหลืองและมีเมล็ด
กล้วยหกมีผลสีเขียวผลเล็ก ส่วนกล้วยแดงมีผลใหญ่กว่านิดหน่อยและเปลือกสีแดงพบมากในทางภาคเหนือ เช่น ที่จังหวัดเพชรบูรณ์ พิจิตร พิษณุโลก และที่ดอยอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่ ปลีรับประทานได้
สำหรับกล้วยกินได้ มีดังนี้
กล้วยไข่ ‘Kluai Khai' ชื่ออื่น ๆ กล้วยกระ ชื่อสามัญ Pisang Mas
กล้วยไข่มีลำต้นเทียมสูงไม่เกิน 2.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 16 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านนอกสีเขียวปนเหลือง มีประดำหนา ด้านในสีชมพูแดง ก้านใบสีเขียวอมเหลือง มีร่องกว้าง โคนก้านใบมีปีกสีชมพู ก้านช่อดอกมีขนอ่อน ใบประดับรูปไข่ ม้วนงอขึ้น ปลายค่อนข้างแหลม ด้านบนสีแดงอมม่วง ด้านล่างที่โคนกลีบสีซีด กลีบรวมใหญ่สีขาว ปลายสีเหลือง กลีบรวมเดี่ยวไม่มีสี เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียมีความยาวใกล้เคียงกันแต่เกสรตัวเมียสูงกว่าเล็กน้อย เกสรตัวเมียมีสีเหลือง ส่วนเกสรตัวผู้มีสีชมพู เครือหนึ่งมีประมาณ 7 หวี หวีหนึ่งมีประมาณ 14 ผล ผลค่อนข้างเล็ก กว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 8-10 เซนติเมตร ก้านผลสั้นเปลือกค่อนข้างบาง เมื่อสุกมีสีเหลืองสดใส บางครั้งมีจุดดำเล็ก ๆ ประปราย เนื้อสีครีมอมส้ม รสหวาน
กล้วยไข่ปลูกกันมากเป็นการค้าที่จังหวัดกำแพงเพชร ตาก นครสวรรค์ เพชรบุรี และปลูกทั่ว ๆ ไปในสวนหลังบ้านในทุกภาคของประเทศไทย เพราะเป็นกล้วยที่รสชาติดี และใช้ในเทศกาลสารทไทย ผลรับประทานสด และเป็นเครื่องเคียงของข้าวเม่าคลุก และกระยาสารท นอกจากนี้ยังใช้ทำกล้วยเชื่อม ข้าวเม่าทอด และกล้วยบวชชี ปัจจุบันกล้วยไข่เป็นสินค้าออกที่ส่งไปยังประเทศสิงคโปร์ ญี่ปุ่นและฮ่องกง
กล้วยไข่ทองร่วง ‘Kluai Khai Thoung Roung']
มีความสูงไม่เกิน 2.5-3.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางลำต้นน้อยกว่า 15 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านนอกมีประดำปานกลาง พื้นด้านในมีสีแดงเรื่อ ๆ ปน ก้านใบเปิด มีสีแดงปนค่อนข้างชัดเจน
พู่ ก้านช่อดอกมีขนอ่อน ใบประดับรูปร่างค่อนข้างยาว ปลายแหลม ใบประดับม้วนขึ้น ด้านนอกสีม่วงแดง มีนวลปานกลาง ด้านในซีดเล็กน้อย กลีบรวมเดี่ยวใสและมีรอยย่น ส่วนกลีบรวมใหญ่สีครีม ปลายสีเหลือง ผลมีขนาดเล็กใกล้เคียงกับกล้วยไข่ เมื่อสุกมีผิวสีเหลือง ก้านช่อดอกมีขน เครือชี้ออกทางด้านข้าง เครือหนึ่งมีมากกว่า 7 หวี หวีหนึ่งมี 10-16 ผล น้ำหนักผลหนักประมาณ 87 กรัม มีรสหวาน เมื่อสุกเต็มที่ผลมักร่วง
กล้วยเล็บมือนาง ‘Kluai Leb Mu Nang' ชื่ออื่น ๆ กล้วยข้าว . กล้วยเล็บมือ ( สุราษฎร์ธานี ): กล้วยทองดอกหมาก ( พัทลุง ) กล้วยหมาก ( นครศรีธรรมราช )
กล้วยเล็บมือนางมีลำต้นสูงเทียมไม่เกิน 2.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 15 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านนอกสีชมพูอมแดง มีประดำหนา ด้านในสีชมพูอมแดง ก้านในสีชมพูอมแดง ใบตั้งขึ้น มีร่องกว้าง มีปีก เส้นใบสีชมพูอมแดง ก้านช่อดอกมีขน ใบประดับรูปไข่ค่อนค้างยาว ม้วนงอขึ้นปลายแหลม ด้านบนสีแดงอมม่วง ด้านล่างสีแดงซีด ดอกตัวผู้หลุดร่วงไปหลังจากใบประดับร่วง ดอกตัวผู้มีสีครีม ดอกตัวเมียสีชมพูอ่อน ปลายสีเหลือง ก้านเกสรตัวเมียตรง เกสรตัวผู้มีความยาวกว่าเกสรตัวเมีย กลีบรวมใหญ่มีสีเหลืองอ่อน ปลายสีเหลือง กลีบรวมเดี่ยวใสไม่มีสี ปลายหยัก เครือชี้ออกทางด้านข้าง เครือหนึ่งมี 7-8 หวี หวีหนึ่งมี 10-16 ผล ผลเล็ก กว้าง 2-2.5 เซนติเมตร รูปโค้งงอปลายเรียวยาว ก้านผลสั้น เปลือกหนา เมื่อสุกเปลี่ยนเป็นสีเหลืองทอง และยังมีก้านเกสรตัวเมียติดอยู่ กลิ่นหอม เนื้อในสีเหลือง รสหวาน
กล้วยเล็บมือนางนิยมปลูกในแถบภาคใต้ โดยเฉพาะจังหวัดชุมพร ปัจจุบันปลูกทั่ว ๆ ไปในสวนหลังบ้าน เพราะเป็นกล้วยที่มีรสชาติดีชนิดหนึ่ง
กล้วยหอมจันทร์ ‘Kluai Homchan'
กล้วยหอมจันทร์มีลำต้นเทียมสูง 2.5-3.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 15 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านนอกสีชมพูอมแดง มีประดำเล็กน้อย ด้านในสีชมพูอมแดง ก้านใบสีชมพูอมแดง ตั้งขึ้น มีร่องกว้าง มีปีก เส้นใบสีชมพูอมแดง ก้านช่อดอกมีขน ใบประดับรูปไข่ค่อนค้างยาวม้วนงอขึ้น ปลายแหลม ด้านบนสีแดงอมม่วง ด้านล่างสีแดงซีด เครื่องหนึ่งมีประมาณ 7 หวี หวีหนึ่งมีประมาณ 14 ผล ผลเล็ก กว้าง 2-2.5 เซนติเมตร ยาว 9-11 เซนติเมตร รูปคล้ายกล้วยเล็บมือนาง แต่ปลายผลไม่เรียวแหลม มีจุกสั้นเมื่อเทียบกับขนาดของผล ก้านผลสั้น เปลือกหนากว่ากล้วยเล็บมือนาง เมื่อสุกมีสีเหลืองคล้ายกัน กลิ่นหอมเย็น เนื้อสีเหลือง รสหวาน
กล้วยหอมจันทร์ปลูกทางภาคเหนือ ส่วนใหญ่ปลูกในสวนหลังบ้าน และปลูกเป็นการค้าทางภาคใต้
กล้วยไล ‘Kluai Lai'
ลำต้นเทียมมีความสูงประมาณ 2.5-3.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า 15 เซนติเมตร ลำต้นมีประดำปานกลาง มีไขปานกลาง กาบลำต้นด้านในมีสีชมพูปน ก้านใบเปิดกว้างมีปีกเล็กน้อยและมีสีเขียว ปนชมพู เส้นก้านใบสีเขียว ก้านช่อดอกมีขน เครืออกชี้ทางด้านข้าง ส่วนปลีห้อยลง ปลีมีใบประดับรูปไข่ยาว ปลายแหลม มีสีม่วงเข้ม ไม่มีไข ปลายม้วนขึ้น เครือหนึ่งมีน้อยกว่า 7 หวี หวีหนึ่งมี 10-16 ผล ผลขนาดเล็ก ผลเมื่อสุกมีสีส้มอมเหลือง รสหวาน
กล้วยสา ‘Kluai Sa'
ลำต้นเทียมมีความสูงประมาณ 2.5-3.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 15 เซนติเมตร ลำต้นเทียมด้านนอกสีเขียวเข้มมีจุดดำประน้ำตาลเข้มมากและมีนวลปานกลาง ด้านในสีออกชมพู ก้านใบมีนวลมากมีสีม่วงแดงเข้ม ทั้งด้านล่างและขอบใบ ก้านช่อดอกมีขน ใบประดับมีรูปไข่ รูปร่างยาวปลายแหลม เครือห้อยลง เครือหนึ่งมีมากกว่า 8 หวี หวีหนึ่งมี 18-22 ผล ผลมีขนาดเล็ก กว้างประมาณ 3 เซนติเมตร ยาวประมาณ 9 เซนติเมตร ผลหนึ่งหนัก 80-90 กรัม
กล้วยทองขี้แมง ‘Thong Khi Meew'
ลำต้นเทียมมีความสูงประมาณ 2.5-3.0 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 15 เซนติเมตร ลำต้นเทียมด้านนอกสีเขียวเข้มมีจุดประสีน้ำตาลเข้มจำนวนมาก และมีนวลมาก ด้านในสีออกชมพู ก้านใบมีสีเขียวมีปีกสีชมพู ก้านช่อดอกมีขน ปลีมีใบประดับรูปไข่ยาว ปลายแหลม และม้วนขึ้น ใบประดับมีสีแดงเทาไม่มีไข กลีบรวมใหญ่สีขาว ปลายสีเหลือง กลีบรวมเดี่ยวใสไม่มีสี ดอกตัวผู้และตัวเมียมี ใบประดับมีรูปร่างเรียวยาว ปลายแหลม ด้านในสีซีด ดอกตัวเมียมีความสูงมากกว่าดอกตัวผู้ เครือกล้วยชี้ไปทางด้านข้างรวมทั้งปลี เครือหนึ่งมี 7 หวี หวี หนึ่งมี 10-16 ผล ผลเมื่อสุกมีสีเหลืองอมส้ม มีเมล็ด
กล้วยทองกาบดำ ‘Kluai Thong Kab Dam'
ลำต้นเทียมมีความสูง 2.5-3.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 15 เซนติเมตร มีประดำปานกลาง กาบลำต้นด้านในมีสีชมพู ก้านใบมีปีกและมีสีชมพู เส้นกลางใบสีเขียว ก้านช่อดอกมีขนเล็กน้อย เครือออกทางด้านข้างขนานกับพื้นดินรวมทั้งปลีด้วย ก้านเครือมีขน ปลีมีรูปไข่ยาว ปลายแหลม มีไขปานกลาง สีม่วงเข้ม ปลีม้วนขึ้น เครือหนึ่งมี 7-8 หวี หวีหนึ่งมีผลไม่เกิน 16 ผล ผลสุกสีเหลืองอมส้ม ผลมีขนาดไม่ใหญ่
กล้วยน้ำไท ‘Klaui Nam Thai'
กล้วยน้ำไทมีลำต้นเทียมสูงไม่เกิน 2.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 15 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านนอกมีประดำหนา ที่โคนมีสีชมพูอมแดง ด้านในสีชมพูอมแดง ก้านใบตั้งขึ้น มีร่องกว้าง มีปีกสีชมพู เส้นใบสีชมพูอมแดง ก้านช่อดอกมีขน ใบประดับรูปไข่ค่อนข้างยาวม้วนงอขึ้น ปลายแหลม ด้านบนสีม่วงอมแดง ด้านล่างสีซีด เครือหนึ่งมีประมาณ 5 หวี หวีหนึ่งมี 12-18 ผล ผลคล้ายกล้วยหอมจันทร์ ขนาดใกล้เคียงกัน กว้าง 2 –2.05 เซนติเมตร ยาว 10-11 เซนติเมตร ผลไม่งอโค้งเท่ากล้วยหอมจันทร์ มีหัวจุกใหญ่แต่เล็กกว่าหอมจันทร์ ที่ปลายจุกมักมีก้านเกสรตัวเมียติดอยู่ เปลือกหนากว่าหอมจันทร์ มีกลิ่นหอมเย็น เมื่อสุกสีเหลืองเข้มกว่ากล้วยหอมจันทร์และมีจุดดำเล็ก ๆ คล้ายจุดของกล้วยไข่ กลิ่นหอม เนื้อสีเหลืองส้ม รสหวาน
กล้วยน้ำนม ‘Klaui Nam Nom'
ลำต้นเทียมมีความสูงน้อยกว่า 2.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 15 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านในสีเขียว มีไขมาก ก้านใบมีปีกเป็นสีชมพูเล็กน้อย เส้นกลางใบสีเขียว เครือออกขนานกับพื้นดินส่วนปลีห้อยลง ก้านเครือมีขน ปลีมีใบประดับรูปไข่ยาว สีแดงอ่อน ปลายแหลม มีไขปานกลาง ใบประดับม้วนขึ้น เครือหนึ่งมีน้อยกว่า 7 หวี หวีหนึ่งมี ประมาณ 10 ผล
กล้วยหอมสั้น ‘Kluai Hom Son'
ลำต้นเทียมมีความสูงน้อยกว่า 2.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 15 เซนติเมตร ลำต้นมีประดำและไขปานกลาง กาบลำต้นด้านในมีสีชมพู ก้านใบมีปีกเป็นสีชมพู เส้นกลางใบสีเขียว เครือออกทางด้านข้างขนานกับดินรวมทั้งปลีด้วย ก้านช่อดอกมีขนเล็กน้อย ปลีมีใบประดับรูปไข่ยาว ปลายแหลม สีม่วงเข้ม ปลายม้วนขึ้น เครือหนึ่งมีน้อยกว่า 7 หวี หวีหนึ่งมี 10-16 ผล ผลสุกมีสีเหลืองอมส้ม มีขนาดใกล้เคียงกับกล้วยน้ำว้าแต่รูปร่างเหมือนกล้วยไข่ รสหวาน
กล้วย เป็นพืชพื้นบ้านของไทยที่ถูกนำมาใช้ประโยชน์ในทุกยุคทุกสมัย เพราะทุกส่วนของกล้วยสามารถนำมาใชประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นอาหาร ขนม ของตกแต่ง กระทง หรือภาชนะ
ถิ่นกำเนิดของกล้วย (First Home)
กล้วยเป็นพืชที่ชอบอากาศร้อนชื้น ถิ่นแรกของกล้วยจึงอยู่แถบเอเชียตอนใต้ ซึ่งจะพบกล้วยพื้นเมืองทั้งที่มีเมล็ดและไม่มีเมล็ด และจากผลของการย้ายถิ่นฐานในการทำมาหากิน การอพยพประชากรจากเอเชียตอนใต้ไปยังหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งแต่ต้นคริสต์ศักราชเป็นต้นมา ในการอพยพแต่ละครั้งจะต้องมีการนำเอาเสบียงอาหารติดตัวไปด้วย จึงได้มีการนำเอากล้วยไปปลูกแถบหมู่เกาะฮาวายและหมู่เกาะทางด้านตะวันออก
สำหรับประวัติกล้วยในประเทศไทย เข้าใจว่าประเทศไทยเป็นแหล่งกำเนิดของกล้วยป่าและต่อมาได้มีการนำเข้ากล้วยตานี และกล้วยชนิดอื่นในช่วงที่มีการอพยพของคนไทยในการตั้งถิ่นฐานอยู่ที่จังหวัดสุโขทัย มีเอกสารกล่าวว่าในสมัยอยุธยาพบว่ามีกล้วยร้อยหวี
ลักษณะทั่วไป
กล้วย เป็นไม้ผล ลำต้น เกิดจากกาบหุ้มซ้อนกัน สูงประมาณ 2 – 5 เมตร
ใบ เป็นใบเดี่ยว เกิดกระจายส่วนปลายของลำต้นเวียนสลับซ้ายขวาต่างระนาบกัน ก้านใบยาว แผ่น ใบกว้าง เส้นของใบขนานกัน ปลายใบมน มีติ่ง ผิวใบเรียบลื่น ใบมีสีเขียวด้านล่างมีไขนวลหรือแป้งปกคลุม เส้นและขอบใบเรียบ ขนาดและความยาวของใบขึ้นอยู่กับแต่ละพันธุ์
ดอก เป็นดอกห้อยลงมายาวประมาณ 60 – 130 ซม. ซึ่งเรียกว่าหัวปลี ตามช่อจะมีกาบหุ้มสีแดงเป็นรูปกลมรี ยาว 15 – 30 ซม. ช่อดอกมีเจริญก็จะกลายเป็นผล ผล เป็นผลสดจะประกอบด้วยหวีกล้วย เครือละ 7 – 8 หวี แต่ละหวีมีกล้วยอยู่ประมาณ 10 กว่าลูก ขนาดและสีของกล้วยจะมีลักษณะแตกต่างกันออกไปตามชนิดของแต่ละพันธุ์ บางชนิดมีผลสีเขียว , เหลือง , แดง แต่ละต้นให้ผลครั้งเดี่ยวเท่านั้น เมล็ด มีลักษณะกลมขรุขระ เปลือกหุ้มเมล็ดมีสีดำ หนาเหนียวเนื้อในเมล็ดมีสีขาว
ขยายพันธุ์ ด้วยการแยกหน่อ หรือแยกเหง้า
รสชาติ รสฝาด
ประโยชน์
ทางด้านอาหาร เป็นไม้ผลนำมาบริโภค ใบนำมาห่อขนม หรือส่วนของลำต้น ใบนำมาทำกระทง ก้านนำมาประดิษฐ์เป็นของเล่น
ประโยชน์ทางสมุนไพร ยางกล้วยจากใบใช้ห้ามเลือด โดยหยดยางลงบนแผล ใช้กล้วยดิบทั้งลูกบดกับน้ำให้ละเอียด และใส่น้ำตาล รับประทาน แก้โรคท้องเสีย แผลในกระเพาะอาหารไม่ย่อย ผลสุกให้เป็นอาหารเป็นยาระบายที่เป็นโรคริดสีดวงทวาร อุจาจาระแข็ง หัวปลี แก้โรคลำไส้ แก้โรคโลหิตจาง และลดน้ำตาลในเลือด
รูปร่างและลักษณะของกล้วยแต่ละชนิดในประเทศไทย
เนื่องจากกล้วยแต่ละชนิดมีรูปร่างและลักษณะเฉพาะตัว ฉะนั้นจึงจำเป็นต้องแจกแจงให้เกิดความเด่นชัดของกล้วยแต่ละชนิดไว้ดังต่อไปนี้ :
• กล้วยสกุล Musa : มีการแตกหน่อและใช้ผลรับประทานได้
กล้วยสกุล Musa ในหมู่ Callimusa: ที่พบในประเทศไทยขณะนี้มีชนิดเดียว คือ
กล้วยป่าชนิด Musa gracilis Horltt. ชื่ออื่นๆ กล้วยทหารพราน หรือกล้วยเลือด
กล้วยชนิดนี้ มีลำต้นเทียมสูง 0.6 – 2 เมตร โคนต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 8 เซนติเมตร กาบและใบมีปื้นสีม่วงเข้ม ใบกว้าง 25-35 เซนติเมตร ยาว 90-150 เซนติเมตร สีเขียว มีนวล ก้านใบยาว 30-70 เซนติเมตร ช่อดอกตั้งยาว 60 เซนติเมตรหรือกว่านั้น ก้านช่อดอกมีขนสั้นปกคลุมหนาแน่น ดอกตัวเมียสีขาวหม่น ปลายสีเขียว ยาว 2.5-4 เซนติเมตร เรียวชิดกัน 3-8 แถว แถวหนึ่ง มี 2-4 ดอก ใบประดับกว้างประมาณ 4.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 15 เวนติเมตร สีม่วงปลายสีเขียว อาจร่วงหลุดไปก่อนบ้าง ดอกตัวผู้สีเหลือง ยาวประมาณ 4 เซนติเมตร ผลตรง สีเขียว มีนวลและมีทางสีม่วงตามยาวของผล ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 เซนติเมตร เป็นเหลี่ยม 2-3 เหลี่ยม ปลายทู่ ก้านผลยาวประมาณ 2 เซนติเมตร เมื่อยังอ่อนมีขนประปราย แก่แล้วผิวเกลี้ยง
กล้วยป่าชนิดนี้มีเขตการกระจายพันธุ์ในประเทศไทยทางภาคใต้ ในท้องที่จังหวัดยะลาและนราธิวาส ขึ้นในป่าดิบชื้น ในต่างประเทศพบที่มาเลเซีย ชาวมลายูเรียกว่าปีชังกะแต ปีชังเวก และปีชังโอนิก
กล้วยสกุล Musa ในหมู่ Eumusa: ในประเทศไทยมี 3 ชนิด คือ
กล้วยป่า ( Musa acuminata Colla) ชื่ออื่น ๆ กล้วยแข้ ( เหนือ ). กล้วยเถื่อน ( ใต้ ). กล้วยลิง ( อุตรดิตถ์ ). กล้วยหม่น ( เชียงใหม่ )
กล้วยป่า มี ลำต้นเทียมสูง 2.5 – 3.5 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางต่ำกว่า 15 เซนติเมตร กาบลำต้นนอกมีปื้นดำ มีนวลเล็กน้อย ส่วนด้านในสีแดง ก้านใบสีชมพูอมแดงมีจุดดำ มีครีบเส้นกลางใบสีเขียว ใบชูขึ้นค่อนข้างตรง ก้านช่อดอกมีขนอ่อน ๆ มาก ใบประดับรูปค่อนข้างยาว ปลายแหลมด้านบนสีม่วงอมแดง มีนวล ด้านล่างที่โคนสีแดงจัด เมื่อใบกางตั้งขึ้นจะเอนไปด้านหลัง และม้วนงอเห็นได้ชัด การเรียงของใบประดับช่อดอกไม่ค่อยช้อนมาก และจะมีลักษณะนูนขึ้นที่โคนของใบประดับ เห็นเป็นสันชัดเจนเมื่อใบประดับหลุดออก ดอกย่อยมีก้านดอกสั้น ผลมีก้านและมีขนาดเล็ก รูปร่างของผลมีหลายแบบแล้วแต่ชนิดย่อย (Subspecies) บางชนิดมีผลโค้งงอ บางชนิดไม่โค้งงอ ผลมีเนื้อน้อยสีขาว รสหวาน มีเมล็ดจำนวนมาก สีดำ ผนังหนา และแข็ง
กล้วยป่าที่พบในประเทศไทยมี 4 ชนิดย่อย (Subspecies) คือ
• Musa acuminata Colla ssp. siamea Simmonds
• M. acuminata Colla ssp. burmanisa Simmonds
• M. acuminata Colla ssp. malaccensis (Ridl.) Simmonds
• M. acuminata Colla ssp. microcarpa (Becc.) Simmonds
กล้วยเหล่านี้พบว่าขึ้นอยู่ทั่วไปในป่าดิบ มีเขตการกระจายพันธุ์ในประเทศไทยทั่วทุกภาคในต่างประเทศพบที่อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และภูมิภาคมาเลเซีย กล้วยชนิดนี้ นอกจากขยายพันธุ์ด้วยการแยกหน่อแล้ว ยังใช้เมล็ดปลูกได้ ผลของกล้วยป่าเมื่อสุกกินได้ แต่ไม่นิยมเพราะมีเมล็ดมาก ผลอ่อนและหัวปลีรับประทานได้
กล้วยตานี ( Musa balbisiana Colla) ชื่ออื่น ๆ กล้วยงู ( พิจิตร ): กล้วยชะนีใน . กล้วยตานีใน . กล้วยป่า . กล้วยเมล็ด ( สุรินทร์ ): กล้วยพองลา ( ใต้ )
กล้วยตานี ลำต้นเทียมสูง 3.5-4 เมตร เว้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 20 เซนติเมตร สีเขียว ไม่มีปื้นดำ กาบลำต้นด้านในสีเขียว ก้านใบสีเขียว เส้นกลางใบสีเขียวไม่มีร่อง ก้านช่อดอกสีเขียวไม่มีขน ใบประดับรูปค่อนข้างป้อม มีความกว้างมาก ปลายมน ด้านบนสีแดงอมม่วง มีนวล ด้านล่างสีแดงเข้มสดใส เมื่อใบประดับกางขึ้นตั้งฉากกับช่อดอกและไม่ม้วนงอ ใบประดับแต่ละใบซ้อนกันลึก เครือหนึ่งมีประมาณ 8 หวี หวีหนึ่งมี 10-14 ผล ผลป้อมขนาดใหญ่ มีเหลี่ยมเห็นชัดเจน ลักษณะคล้ายกล้วยหักมุกแต่ปลายทู่ ก้านผลยาว ผลเมื่อสุกผิวเปลี่ยนเป็นสีเหลือง เนื้อมีรสหวาน มีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดใหญ่สีดำ ผนังหนา แข็ง
กล้วยตานีที่พบในประเทศไทยมี 3 ชนิด แตกต่างที่ลำต้นเทียมและผล กล่าวคือกล้วยตานีพบทางภาคเหนือนั้น ลำต้นเทียมเกลี้ยงไม่มีปื้นดำเลย ผลจะสั้น ป้อม ส่วนตานีอีสานจะมีลำต้นเทียมที่มีประดำเล็กน้อย ผลคล้ายกล้วยน้ำว้า แต่ตานีทางภาคใต้ ลำต้นเทียมค่อนข้างจะมีปื้นดำหนา ผลคล้ายตานีเหนือแต่นาวกว่า และมีสีเขียวเป็นเงา นอกจากนี้ยังได้มีการนำตานีดำมาจากฟิลิปปินส์ แต่ตานีดำนี้เป็นพันธุ์พื้นเมืองของอินโดนีเซีย ลำต้นเทียมสีม่วงดำและเส้นกลางใบสีม่วงดำสี
เข้มมากจนดูเหมือนสีดำ ผลสีเขียวเข้มเป็นมันมีลักษณะคล้ายตานีใต้ มีเมล็ดมาก
กล้วยหก ( Musa itinerans Cheeseman) , กล้วยแดง ชื่ออื่น ๆ กล้วยอ่างขาง
กล้วยหกเป็นกล้วยป่าอีกชนิดหนึ่งใน section Eumusa ลำต้นเทียมสูงประมาณ 2.5 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 15 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านนอกสีเขียวอมเหลืองมีประดำเล็กน้อย ด้านในสีเหลืองอ่อน ก้านในสีเขียวอมเหลืองและมีประเล็กน้อยมีปีก เส้นกลางใบสีเขียวก้านช่อดอกมีขน ใบประดับรูปไข่ ปลายมน ด้านบนสีเหลืองอมม่วงเข้ม ไม่มีนวล ด้านล่างสีครีม แต่ละใบเรียงซ้อนกันลึกและมีสันตื้นเมื่อใบประกอบหลุด เครือหนึ่งมี 5-7 หวี หวีหนึ่งมี 9-13 ผล ผลป้อม ปลายทู่ โคนเรียว ก้านผลยาวเกือบเท่าความยาวของผล เนื้อสีเหลืองและมีเมล็ด
กล้วยหกมีผลสีเขียวผลเล็ก ส่วนกล้วยแดงมีผลใหญ่กว่านิดหน่อยและเปลือกสีแดงพบมากในทางภาคเหนือ เช่น ที่จังหวัดเพชรบูรณ์ พิจิตร พิษณุโลก และที่ดอยอ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่ ปลีรับประทานได้
สำหรับกล้วยกินได้ มีดังนี้
กล้วยไข่ ‘Kluai Khai' ชื่ออื่น ๆ กล้วยกระ ชื่อสามัญ Pisang Mas
กล้วยไข่มีลำต้นเทียมสูงไม่เกิน 2.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 16 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านนอกสีเขียวปนเหลือง มีประดำหนา ด้านในสีชมพูแดง ก้านใบสีเขียวอมเหลือง มีร่องกว้าง โคนก้านใบมีปีกสีชมพู ก้านช่อดอกมีขนอ่อน ใบประดับรูปไข่ ม้วนงอขึ้น ปลายค่อนข้างแหลม ด้านบนสีแดงอมม่วง ด้านล่างที่โคนกลีบสีซีด กลีบรวมใหญ่สีขาว ปลายสีเหลือง กลีบรวมเดี่ยวไม่มีสี เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียมีความยาวใกล้เคียงกันแต่เกสรตัวเมียสูงกว่าเล็กน้อย เกสรตัวเมียมีสีเหลือง ส่วนเกสรตัวผู้มีสีชมพู เครือหนึ่งมีประมาณ 7 หวี หวีหนึ่งมีประมาณ 14 ผล ผลค่อนข้างเล็ก กว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 8-10 เซนติเมตร ก้านผลสั้นเปลือกค่อนข้างบาง เมื่อสุกมีสีเหลืองสดใส บางครั้งมีจุดดำเล็ก ๆ ประปราย เนื้อสีครีมอมส้ม รสหวาน
กล้วยไข่ปลูกกันมากเป็นการค้าที่จังหวัดกำแพงเพชร ตาก นครสวรรค์ เพชรบุรี และปลูกทั่ว ๆ ไปในสวนหลังบ้านในทุกภาคของประเทศไทย เพราะเป็นกล้วยที่รสชาติดี และใช้ในเทศกาลสารทไทย ผลรับประทานสด และเป็นเครื่องเคียงของข้าวเม่าคลุก และกระยาสารท นอกจากนี้ยังใช้ทำกล้วยเชื่อม ข้าวเม่าทอด และกล้วยบวชชี ปัจจุบันกล้วยไข่เป็นสินค้าออกที่ส่งไปยังประเทศสิงคโปร์ ญี่ปุ่นและฮ่องกง
กล้วยไข่ทองร่วง ‘Kluai Khai Thoung Roung']
มีความสูงไม่เกิน 2.5-3.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางลำต้นน้อยกว่า 15 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านนอกมีประดำปานกลาง พื้นด้านในมีสีแดงเรื่อ ๆ ปน ก้านใบเปิด มีสีแดงปนค่อนข้างชัดเจน
พู่ ก้านช่อดอกมีขนอ่อน ใบประดับรูปร่างค่อนข้างยาว ปลายแหลม ใบประดับม้วนขึ้น ด้านนอกสีม่วงแดง มีนวลปานกลาง ด้านในซีดเล็กน้อย กลีบรวมเดี่ยวใสและมีรอยย่น ส่วนกลีบรวมใหญ่สีครีม ปลายสีเหลือง ผลมีขนาดเล็กใกล้เคียงกับกล้วยไข่ เมื่อสุกมีผิวสีเหลือง ก้านช่อดอกมีขน เครือชี้ออกทางด้านข้าง เครือหนึ่งมีมากกว่า 7 หวี หวีหนึ่งมี 10-16 ผล น้ำหนักผลหนักประมาณ 87 กรัม มีรสหวาน เมื่อสุกเต็มที่ผลมักร่วง
กล้วยเล็บมือนาง ‘Kluai Leb Mu Nang' ชื่ออื่น ๆ กล้วยข้าว . กล้วยเล็บมือ ( สุราษฎร์ธานี ): กล้วยทองดอกหมาก ( พัทลุง ) กล้วยหมาก ( นครศรีธรรมราช )
กล้วยเล็บมือนางมีลำต้นสูงเทียมไม่เกิน 2.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 15 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านนอกสีชมพูอมแดง มีประดำหนา ด้านในสีชมพูอมแดง ก้านในสีชมพูอมแดง ใบตั้งขึ้น มีร่องกว้าง มีปีก เส้นใบสีชมพูอมแดง ก้านช่อดอกมีขน ใบประดับรูปไข่ค่อนค้างยาว ม้วนงอขึ้นปลายแหลม ด้านบนสีแดงอมม่วง ด้านล่างสีแดงซีด ดอกตัวผู้หลุดร่วงไปหลังจากใบประดับร่วง ดอกตัวผู้มีสีครีม ดอกตัวเมียสีชมพูอ่อน ปลายสีเหลือง ก้านเกสรตัวเมียตรง เกสรตัวผู้มีความยาวกว่าเกสรตัวเมีย กลีบรวมใหญ่มีสีเหลืองอ่อน ปลายสีเหลือง กลีบรวมเดี่ยวใสไม่มีสี ปลายหยัก เครือชี้ออกทางด้านข้าง เครือหนึ่งมี 7-8 หวี หวีหนึ่งมี 10-16 ผล ผลเล็ก กว้าง 2-2.5 เซนติเมตร รูปโค้งงอปลายเรียวยาว ก้านผลสั้น เปลือกหนา เมื่อสุกเปลี่ยนเป็นสีเหลืองทอง และยังมีก้านเกสรตัวเมียติดอยู่ กลิ่นหอม เนื้อในสีเหลือง รสหวาน
กล้วยเล็บมือนางนิยมปลูกในแถบภาคใต้ โดยเฉพาะจังหวัดชุมพร ปัจจุบันปลูกทั่ว ๆ ไปในสวนหลังบ้าน เพราะเป็นกล้วยที่มีรสชาติดีชนิดหนึ่ง
กล้วยหอมจันทร์ ‘Kluai Homchan'
กล้วยหอมจันทร์มีลำต้นเทียมสูง 2.5-3.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 15 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านนอกสีชมพูอมแดง มีประดำเล็กน้อย ด้านในสีชมพูอมแดง ก้านใบสีชมพูอมแดง ตั้งขึ้น มีร่องกว้าง มีปีก เส้นใบสีชมพูอมแดง ก้านช่อดอกมีขน ใบประดับรูปไข่ค่อนค้างยาวม้วนงอขึ้น ปลายแหลม ด้านบนสีแดงอมม่วง ด้านล่างสีแดงซีด เครื่องหนึ่งมีประมาณ 7 หวี หวีหนึ่งมีประมาณ 14 ผล ผลเล็ก กว้าง 2-2.5 เซนติเมตร ยาว 9-11 เซนติเมตร รูปคล้ายกล้วยเล็บมือนาง แต่ปลายผลไม่เรียวแหลม มีจุกสั้นเมื่อเทียบกับขนาดของผล ก้านผลสั้น เปลือกหนากว่ากล้วยเล็บมือนาง เมื่อสุกมีสีเหลืองคล้ายกัน กลิ่นหอมเย็น เนื้อสีเหลือง รสหวาน
กล้วยหอมจันทร์ปลูกทางภาคเหนือ ส่วนใหญ่ปลูกในสวนหลังบ้าน และปลูกเป็นการค้าทางภาคใต้
กล้วยไล ‘Kluai Lai'
ลำต้นเทียมมีความสูงประมาณ 2.5-3.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า 15 เซนติเมตร ลำต้นมีประดำปานกลาง มีไขปานกลาง กาบลำต้นด้านในมีสีชมพูปน ก้านใบเปิดกว้างมีปีกเล็กน้อยและมีสีเขียว ปนชมพู เส้นก้านใบสีเขียว ก้านช่อดอกมีขน เครืออกชี้ทางด้านข้าง ส่วนปลีห้อยลง ปลีมีใบประดับรูปไข่ยาว ปลายแหลม มีสีม่วงเข้ม ไม่มีไข ปลายม้วนขึ้น เครือหนึ่งมีน้อยกว่า 7 หวี หวีหนึ่งมี 10-16 ผล ผลขนาดเล็ก ผลเมื่อสุกมีสีส้มอมเหลือง รสหวาน
กล้วยสา ‘Kluai Sa'
ลำต้นเทียมมีความสูงประมาณ 2.5-3.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 15 เซนติเมตร ลำต้นเทียมด้านนอกสีเขียวเข้มมีจุดดำประน้ำตาลเข้มมากและมีนวลปานกลาง ด้านในสีออกชมพู ก้านใบมีนวลมากมีสีม่วงแดงเข้ม ทั้งด้านล่างและขอบใบ ก้านช่อดอกมีขน ใบประดับมีรูปไข่ รูปร่างยาวปลายแหลม เครือห้อยลง เครือหนึ่งมีมากกว่า 8 หวี หวีหนึ่งมี 18-22 ผล ผลมีขนาดเล็ก กว้างประมาณ 3 เซนติเมตร ยาวประมาณ 9 เซนติเมตร ผลหนึ่งหนัก 80-90 กรัม
กล้วยทองขี้แมง ‘Thong Khi Meew'
ลำต้นเทียมมีความสูงประมาณ 2.5-3.0 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 15 เซนติเมตร ลำต้นเทียมด้านนอกสีเขียวเข้มมีจุดประสีน้ำตาลเข้มจำนวนมาก และมีนวลมาก ด้านในสีออกชมพู ก้านใบมีสีเขียวมีปีกสีชมพู ก้านช่อดอกมีขน ปลีมีใบประดับรูปไข่ยาว ปลายแหลม และม้วนขึ้น ใบประดับมีสีแดงเทาไม่มีไข กลีบรวมใหญ่สีขาว ปลายสีเหลือง กลีบรวมเดี่ยวใสไม่มีสี ดอกตัวผู้และตัวเมียมี ใบประดับมีรูปร่างเรียวยาว ปลายแหลม ด้านในสีซีด ดอกตัวเมียมีความสูงมากกว่าดอกตัวผู้ เครือกล้วยชี้ไปทางด้านข้างรวมทั้งปลี เครือหนึ่งมี 7 หวี หวี หนึ่งมี 10-16 ผล ผลเมื่อสุกมีสีเหลืองอมส้ม มีเมล็ด
กล้วยทองกาบดำ ‘Kluai Thong Kab Dam'
ลำต้นเทียมมีความสูง 2.5-3.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 15 เซนติเมตร มีประดำปานกลาง กาบลำต้นด้านในมีสีชมพู ก้านใบมีปีกและมีสีชมพู เส้นกลางใบสีเขียว ก้านช่อดอกมีขนเล็กน้อย เครือออกทางด้านข้างขนานกับพื้นดินรวมทั้งปลีด้วย ก้านเครือมีขน ปลีมีรูปไข่ยาว ปลายแหลม มีไขปานกลาง สีม่วงเข้ม ปลีม้วนขึ้น เครือหนึ่งมี 7-8 หวี หวีหนึ่งมีผลไม่เกิน 16 ผล ผลสุกสีเหลืองอมส้ม ผลมีขนาดไม่ใหญ่
กล้วยน้ำไท ‘Klaui Nam Thai'
กล้วยน้ำไทมีลำต้นเทียมสูงไม่เกิน 2.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 15 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านนอกมีประดำหนา ที่โคนมีสีชมพูอมแดง ด้านในสีชมพูอมแดง ก้านใบตั้งขึ้น มีร่องกว้าง มีปีกสีชมพู เส้นใบสีชมพูอมแดง ก้านช่อดอกมีขน ใบประดับรูปไข่ค่อนข้างยาวม้วนงอขึ้น ปลายแหลม ด้านบนสีม่วงอมแดง ด้านล่างสีซีด เครือหนึ่งมีประมาณ 5 หวี หวีหนึ่งมี 12-18 ผล ผลคล้ายกล้วยหอมจันทร์ ขนาดใกล้เคียงกัน กว้าง 2 –2.05 เซนติเมตร ยาว 10-11 เซนติเมตร ผลไม่งอโค้งเท่ากล้วยหอมจันทร์ มีหัวจุกใหญ่แต่เล็กกว่าหอมจันทร์ ที่ปลายจุกมักมีก้านเกสรตัวเมียติดอยู่ เปลือกหนากว่าหอมจันทร์ มีกลิ่นหอมเย็น เมื่อสุกสีเหลืองเข้มกว่ากล้วยหอมจันทร์และมีจุดดำเล็ก ๆ คล้ายจุดของกล้วยไข่ กลิ่นหอม เนื้อสีเหลืองส้ม รสหวาน
กล้วยน้ำนม ‘Klaui Nam Nom'
ลำต้นเทียมมีความสูงน้อยกว่า 2.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 15 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านในสีเขียว มีไขมาก ก้านใบมีปีกเป็นสีชมพูเล็กน้อย เส้นกลางใบสีเขียว เครือออกขนานกับพื้นดินส่วนปลีห้อยลง ก้านเครือมีขน ปลีมีใบประดับรูปไข่ยาว สีแดงอ่อน ปลายแหลม มีไขปานกลาง ใบประดับม้วนขึ้น เครือหนึ่งมีน้อยกว่า 7 หวี หวีหนึ่งมี ประมาณ 10 ผล
กล้วยหอมสั้น ‘Kluai Hom Son'
ลำต้นเทียมมีความสูงน้อยกว่า 2.5 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 15 เซนติเมตร ลำต้นมีประดำและไขปานกลาง กาบลำต้นด้านในมีสีชมพู ก้านใบมีปีกเป็นสีชมพู เส้นกลางใบสีเขียว เครือออกทางด้านข้างขนานกับดินรวมทั้งปลีด้วย ก้านช่อดอกมีขนเล็กน้อย ปลีมีใบประดับรูปไข่ยาว ปลายแหลม สีม่วงเข้ม ปลายม้วนขึ้น เครือหนึ่งมีน้อยกว่า 7 หวี หวีหนึ่งมี 10-16 ผล ผลสุกมีสีเหลืองอมส้ม มีขนาดใกล้เคียงกับกล้วยน้ำว้าแต่รูปร่างเหมือนกล้วยไข่ รสหวาน
วันอาทิตย์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
เครื่องบินลำแรก
ออร์วิลและวิลเบอร์ ไรท์ เป็นบุตรของเสมียนในเมือง เล็กๆ ชื่อเดตันในรัฐโอไฮโอ วิลเบอร์ ไรท์ ผู้เป็นพี่ชายเกิดในปี1867 ส่วนออร์วิล คนน้องเกิดในปี 1871 ทั้งสองมีแรงบันดาลใจเกี่ยวกับเรื่องการบินตั้งแต่ได้รับของขวัญเป็นเครื่องร่อนเล็กๆ ซึ่งสองคนพี่น้องนึกแปลกใจว่าเครื่องร่อนนั้นบินได้อย่างไร ต่อมาในปี 1895 หลังจากที่ทั้งคู่จบการศึกษาและร่วมกันเปิดร้านซ่อมจักรยานนั้น พี่น้องคู่นี้ได้อ่านบทความที่เขียนโดยนักสร้างเครื่องร่อนชาวเยอรมัน ชื่อ ออตโต ลิเลียนทาล บทความนี้ทำให้เขาประหลาดใจเหมือนเมื่อสมัยเขาทั้งสองเป็นเด็ก จึ่งตัดสินใจที่จะสร้างเครื่องยนต์ที่บินได้และบรรมทุกคนได้ด้วย หลังจากที่ทั้งสองพี่น้องได้ศึกษาและทดลองถึงการลอยตัวของว่าวและเครื่องร่อนจนรู้สาเหตุแล้วจึ่งได้สร้างเครื่องร่อนขนาดใหญ่พอที่จะบรรทุกคน ขึ้นไปได้หนึ่งคนเป็นครั้งแรกและให้ชื่อมันว่า คิตตี้ ฮอร์ก โดยทำการทดลองร่อนที่เนินเขาในรัฐคาโรไลนาเหนือที่มีลมแรง การทดลองประสบผลสำเร็จ ทั้งคู่จึงสร้างเครื่องร่อนขึ้นอีกหลายลำและเพิ่มระยะทางบินให้มากขึ้น ในปี ค.ศ. 1902 ทั้งคู่คิดค้นหาวิธีที่จะทำให้เครื่องร่อนบินได้ไกลและมีประสิทธิ ภาพขึ้น โดยคิดที่จะใส่เครื่องยนต์ให้กับเครื่องร่อนนั้น พอปลายปี 1903 เครื่องบินลำแรกของโลกก็ได้ถูกสร้างขึ้นโดยวิลเบอร์ และออร์วิล เอาเครื่อง ยนต์ขนาด 12 แรงม้า ใส่เข้ากับเครื่องร่อนคิตตี้ โอร์ค ซึ่งใช้หมุนใบพัด 2 ข้าง และตั้งชื่อให้มันว่า ฟลายเออร์ โดยวิลเบอร์เป็นผู้ทดลองขึ้นบินเป็น คนแรก ในการทดลองบินครั้งแรกนั้น ฟลายเออร์ยกตัวลอยขึ้นจากพื้นดิน หมุนไปรอบๆ แล้วตกลงพื้นดิน ต้องเสียเวลาซ่อม 2 วัน ทั้งคู่จึ่งทำการทด ลองต่อไปใหม่ โดยคราวนี้ออร์วิล เป็นผู้อยู่บนเครื่องเขาพยายามบินอีกครั้ง ฟลายเออร์ลอยขึ้นสูงจากพื้นดิน 3เมตร ใช้ความเร็ว 48 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และบินไปได้ไกลถึง 36 เมตร พี้น้องตระกูลไรท์ได้ทำการทดลองบินอีกในเช้าวันต่อมาจนกระทั่งลมกรรโชกทำให้เครื่องพลิกคว่ำแล้วพังไป เขาจึงกลับไปทำงานที่ร้านจักรยานต่อ และทำการทดลองอีกครั้งในปี ค.ศ.1905 โดยสร้างเครื่องบินอีก 3 ลำ และทำการบินได้ครึ่งชั่วโมงในแต่ละครั้ง น่าประหลาดใจที่ไม่มีใครแสดงความสนใจในสิ่งที่พวกเขาทำมากนัก เพียงไม่กี่คนที่เฝ่ากูเขาทำการบิน ไม่มีแม้แต่การรายงานข่าวในหนังสือพิมพ์ คนทั่วไปไม่คิดว่าการบิน จะเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ ในปี
ค.ศ.1908 เขาได้ทำการบินต่อหน้าสาธารณชน โดยมีผู้โดยสารขึ้นไปคนหนึ่งบินไปเกือนบครึ่งชั่วโมง และกลายเป็นผู้มีชื่อเสียง เขา ได้ทำการสาธิตการบินทั้งในยุโรปและอเมริกาใน ปี 1909 ทั้งคู่เป็นวีรยุรุษของปวงชนแทนที่จะเป็นช่างซ่อมจักรยานที่ไม่มีใครรู้จัก เขาได้ตั้งโรงงานผลิตเครื่อง บินและได้รับความสำเร็จในทันที ออร์วิลและวิลเบอร์ได้รับชัยชนะที่งดงามด้วยกัน จนกระทั่งปี ค.ศ.1912 วิลเบอร์เป็นไข้ไทฟอยด์และถึงแก่กรรม
ค.ศ.1908 เขาได้ทำการบินต่อหน้าสาธารณชน โดยมีผู้โดยสารขึ้นไปคนหนึ่งบินไปเกือนบครึ่งชั่วโมง และกลายเป็นผู้มีชื่อเสียง เขา ได้ทำการสาธิตการบินทั้งในยุโรปและอเมริกาใน ปี 1909 ทั้งคู่เป็นวีรยุรุษของปวงชนแทนที่จะเป็นช่างซ่อมจักรยานที่ไม่มีใครรู้จัก เขาได้ตั้งโรงงานผลิตเครื่อง บินและได้รับความสำเร็จในทันที ออร์วิลและวิลเบอร์ได้รับชัยชนะที่งดงามด้วยกัน จนกระทั่งปี ค.ศ.1912 วิลเบอร์เป็นไข้ไทฟอยด์และถึงแก่กรรม
วันศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
สุวรรณภูมิที่รอคอย..........ในที่สุดก็ได้.........
และแล้วพวกเราที่เเสนจะโชคดีก็ได้เดินทางไปยังสนามบินสุวรรณภูมิแล้วค่ะ
การออกเดินทางเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 เวลาประมาณ 08.00 น. อยากบอกว่าอากาศดีมากๆ ฝนตกแต่เช้าเลย แต่ทุกๆคนก็มากันอย่างตั้งอกตั้งใจ เพราะอยากจะไปเที่ยวกัน ใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมง เมื่อไปถึงอาจารย์ก็ปล่อยให้เดินหาคำศัพท์ จิ๊บๆ 150 คำ ตามอัธยาศัย แอบบอกนิดเถอะ อาหารที่สนามบินแพงมากๆ มากกว่าข้างนอกหลายเท่าเลยค่ะ เพราะฉะนั้นะเป็นการดีมากถ้าเรานำมาเอง แต่ที่นี้ชาวต่างชาติเยอะมากๆทั้งเข้าและออก มีคนไทยบ้างแต่ไม่มากเท่าไหร่ พอเวลาประมาณ 13.15 น. เป็นเวลาที่อาจารย์นัดเอาไว้ที่ ประตูทางเข้า-ออก หมายเลข 10 ชั้น 4 เมื่อเจ้าหน้าที่ทางสนามบินมาร่วมกันแล้ว พวกเราก็ได้รับบัตรอนุญาตผ่านเข้าไปเดินชมด้านใน (บัตรมีมูลค่า 1,000 บาท ถ้าเราทำหาย)หลังจากนั้นทางเจาหน้าที่ก็อธิบายความเป็นมาของสนามบินเล็กน้อย พาเดินไปดูจอมอนิเตอร์สายการบิน เที่ยวบิน เวลาลงจอด เเละพาเข้าไปดูด้านใน ไปในส่วนที่คนภายนอกเข้าไม่ได้พร้อมทั้งอธิบายอย่างละเอียดมากๆ เป็นกันเองอย่างมากด้วย เมื่อเดินชมกันเสร็จเรียบร้อยจนถึงเวลาเดินทางกลับก็ประมาณ 16.30 น. ทางคณะอาจาร์ยก็ได้กล่าวขอบคุณและมอบของฝากเล็กๆน้อย กับทางเจ้าหน้าที่ที่อำนวยความสะดวกและมอบความรู้มากมายแก่พวกเราอีกด้วย
วันเสาร์ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
หายหน้าไปนาน......กลับมาแก้ตัวอีกครั้ง
หายหน้าไปนานน้าน ไม่ได้ไปไหนเลย...แต่ติดต่อกับใครแทบจะไม่ได้...
ปิดภาคเรียนมีเเต่เรื่องยุ่งๆกับที่บ้านมากมายเหลือเกิน
เหนื่อยสุดๆไปเลย
มีเรื่องมากมายแถมคอมที่รักดันมาเจ็งอีก
ซ่อมไปหลายตั้งมากๆกระเป๋าหนูฉีกไปแล้ว กินแกลบทั้งเดือนเลยที่นี้
ก็แผงวงจรตัวเดียวเเต่ทั้งแผงใหม้หมดเกลี้ยง
เอาเปลี่ยนแผงตัวเดียว 1500 โจะแย่งแมวกินอยู่เเล้ว
ยังไม่รวมอื่นๆอีก
สรุปหมดตัวไปกับคอมมากอยู่เหมือนกัน
วุ่นวายมากๆที่บ้านมีปัญหา
อากาศเปลี่ยนแม่ก็ป่วย
ความดันขึ้นต้องนอนโรงพยาบาลอีก น้องก็ไม่สบาย พี่สาวก็เพิ่งหายไข้
ประสาทเราแทบแตก เฮ้อ.....
ปกติอัพเเต่เรื่องมีสาระ วันนี้หายหน้าไปนานเลย กลับมาอัพเรื่องไร้สาระเลย
นานๆทีละกัน เอาเป็นว่าเเล้วจะกลับมาอัพเรื่องดีๆๆมีประโยนช์ไว้เเบ่งปันกันอีกนะค่ะ
วันนี้พอแค่นี้ก่อนไปละค่ะ
ปิดภาคเรียนมีเเต่เรื่องยุ่งๆกับที่บ้านมากมายเหลือเกิน
เหนื่อยสุดๆไปเลย
มีเรื่องมากมายแถมคอมที่รักดันมาเจ็งอีก
ซ่อมไปหลายตั้งมากๆกระเป๋าหนูฉีกไปแล้ว กินแกลบทั้งเดือนเลยที่นี้
ก็แผงวงจรตัวเดียวเเต่ทั้งแผงใหม้หมดเกลี้ยง
เอาเปลี่ยนแผงตัวเดียว 1500 โจะแย่งแมวกินอยู่เเล้ว
ยังไม่รวมอื่นๆอีก
สรุปหมดตัวไปกับคอมมากอยู่เหมือนกัน
วุ่นวายมากๆที่บ้านมีปัญหา
อากาศเปลี่ยนแม่ก็ป่วย
ความดันขึ้นต้องนอนโรงพยาบาลอีก น้องก็ไม่สบาย พี่สาวก็เพิ่งหายไข้
ประสาทเราแทบแตก เฮ้อ.....
ปกติอัพเเต่เรื่องมีสาระ วันนี้หายหน้าไปนานเลย กลับมาอัพเรื่องไร้สาระเลย
นานๆทีละกัน เอาเป็นว่าเเล้วจะกลับมาอัพเรื่องดีๆๆมีประโยนช์ไว้เเบ่งปันกันอีกนะค่ะ
วันนี้พอแค่นี้ก่อนไปละค่ะ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)